ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
DOI:
https://doi.org/10.14456/educu.2024.7คำสำคัญ:
การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา, แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู, ความสัมพันธ์, สพม.กท 1บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาและแรงจูงใจใน
การปฏิบัติงานของครู และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจใน
การปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่มตัวอย่างคือ ครูที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 320 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของโคเฮน และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.975 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson's Product-Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจใน
การปฏิบัติงานของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565. https://www.moe.go.th/backend/wp-content/uploads/2020
/11/จุดเน้น2565.pdf
กนกวรรณ สมวงศ์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพรเขต 2. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
เกรียงศักดิ์ แนบนิรมิด. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 [การค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.].http://202.29.18.34/bitstream/123456789/991/1/SRU-Kriangsak-Nabniramit.pdf
แก้วนภา พิมพา. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 [การศึกษาค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.].http://www.edu.nu.ac.th/th/
news/docs/download/2021_07_02_11_35_03.pdf
ณธิดา โกรทินธาคม. (2562) . การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 .วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปกร
ณัฐดนัย ไทยถาวร. (2561) . แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนระดับประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ประชุมพร บุญมา. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจใน
การปฏิบัติงานของครูปฏิบัติการสอนในจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. นิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
ปิยวรรณ งามสง่า. (2564). การใช้อำนาจของผู้บริหารกับแรงจูงใจของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3540/1/61252324.pdf
ภูริวิชญ์ โทสุรินทร์. (2561) . ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันองค์การของข้าราชการครูโรงเรียนในสำนักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
มนัสนันท์ มีทรัพย์ทอง. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดวิทยาลัยเทคนิคในภาคตะวันออก[วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]. https://etheses.rbru.ac.th/showthesis.php?theid=389&group=20
รัชนีกรนิภา มีมาก. (2561). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาใน
การจัดการค่านิยมหลัก 12 ประการ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์]. http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6833
ริศรา คำราช. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3. การค้นคว้าตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
รุจินันท์ ทิพยรัตน์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนวัดโสธรวรารามวรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา [นิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา]. https://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms
/files/58920442.pdf
วนิดา ทิพย์กมลธนกุล. (2562). การเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 [วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร]. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789
/2725/1/59252325.pdf
วาสนา ดิษฐ์ประดับ. (2564). การใช้อำนาจของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิรันทร์ดา เสือจอย. (2564). การเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารกับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศรินยาพร วงษ์ขันธ์. (2564) . ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจใน
การปฏิบัติงานครูในสังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่นที่ 4. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. (2565). E-Service ข้อมูลสารสนเทศ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. https://eoffice.sesao1.go.th/info
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. (2565). รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 .
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). สพฐ. วิถีใหม่ วิถีคุณภาพ.https://www.obec.go.th
/archives/320316
สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2560-2579. พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13. https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13
อุษณีย์ โยธินะเวคิน. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อสถานศึกษาของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11. การค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ภาษาอังกฤษ
Best, J., & Kahn, J. V. (1993). Research in Education 7th edition. Boston: Allyn and Bacon.
Cohen, L., Mansion, L., & Marrison, K. (2018). Research Methods in Education. 8th edition. New York: Routledge.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.