การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการตั้งปัญหาและการเรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม

ผู้แต่ง

  • กฤษฎา วรพิน มหาวิทยาลัยศิลปากร

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2023.16

คำสำคัญ:

ความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์, การตั้งปัญหา, การเรียนรู้ตามสภาพจริง

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของกระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิด
การตั้งปัญหาและการเรียนรู้ตามสภาพจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรกเป็นการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน และระยะที่ 2 เป็นการทดลองใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 67 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 34 คน และกลุ่มควบคุม 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ขั้นนำเสนอสถานการณ์ปัญหาใหม่และตรวจสอบความรู้ตนเอง ขั้นสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ขั้นระดมสมองด้วยกระบวนการกลุ่ม ขั้นนำเสนอและเผยแพร่แนวคิดของกลุ่ม และขั้นสรุปและขยายปัญหา 2) กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ หลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Author Biography

กฤษฎา วรพิน, มหาวิทยาลัยศิลปากร

อาจารย์ประจำสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

References

ภาษาไทย

กฤษฎา วรพิน. (2563). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ตามสภาพจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(4), 1-19.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2564). ผลการสอบวัดคุณภาพระดับชาติ ปี 2563. http://bet.obec. go.th/nt/(Country).html.

ภาษาอังกฤษ

Brown, S. I., & Walter, M.. (2005). The Art of Problem Posing, 3rd ed. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates, Inc.

Burris. (2010). A Five-Step Problem-Solving Process. Pearson Allyn Bacon Prentice Hall Updated on Dec 22.

Cai & Hwang. (2002). Generalized and generative thinking in U.S. and Chinestudents’ mathematical problem solving and problem posing. (Journal of Mathemati Behavior). 401–421.

Contreras, J.. (2005). Posing and Solving Problems: TheEssence and Legacy of Mathematics. Oct,115–16.

Dendane, A. Dr.. (2009). Skills Needed for Mathematical Problem Solving.http://www. analyzemath.com.

English, L. D.. (2003). Children’s Problem posing Within Formal and Informal Contexts. Journal for Research in Mathematics Educatio, 29(1), 83-106.

Kerstin P.. (2013). The Problem Solving Cycle – An effective step-by-step approach to find Viable solutions.

Lavy, I., & Bershadsky, I.. (2010). Problem posing via “what if not?” strategy in solid geometry- a case study. (Journal of Mathematical Behavior), 22(4), 369-387.

Lombardi, M. M.. (2007). Authentic learning for the 21st century: An overview. In D. G. Oblinger (ED.), Educause learning Initiative. Advancing learning through IT innovation, 1-12: EDUCAUSE.

Mayer, R. E.. (2003). Learning and instruction. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Mishra, S., & Iyer, S.. (2013). Problem posing exercises (PPE): an instructional strategy For learning of complex material in introductory programming courses. (In Technology for education (T4E)), 2013 IEEE fifth international conferenceon, (pp. 151-158).

National Council of Teachers of Mathematics (NCTM). (2010). Professional Standards for Teaching Mathematics. Reston, Virginia: The National Council of Teachers of Mathematics.

Reeves, T. C.. (2002). How do you know they are learning?: The importance of alignment in higher education. International Journal of Learning Technology, 2(4), 302–304.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30

How to Cite

วรพิน ก. (2023). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการตั้งปัญหาและการเรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 51(2), EDUCU5102007. https://doi.org/10.14456/educu.2023.16