การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการสอนแบบ B-SLIM model ร่วมกับเทคนิค CIRC สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ผู้แต่ง

  • สุภาวดี ยอดไสว มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • สุภาวดี ยอดไสว มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • สริตา บัวเขียว มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • ยุพิน ยืนยง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2022.4

คำสำคัญ:

ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ, วิธีการสอนแบบ B-SLIM model, เทคนิค CIRC, มัธยมศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ B-SLIM model ร่วมกับเทคนิค CIRC 2) ศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ B-SLIM model ร่วมกับเทคนิค CIRC 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อวิธีการสอนแบบ B-SLIM model ร่วมกับเทคนิค CIRC กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 40 คน โดยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม (cluster sampling) ด้วยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อวิธีการสอน สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อวิธีการสอนแบบ B-SLIM model ร่วมกับเทคนิค CIRC โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด

Author Biographies

สุภาวดี ยอดไสว, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

สุภาวดี ยอดไสว, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

สริตา บัวเขียว, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ยุพิน ยืนยง, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี  

References

ภาษาไทย

ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครั้งที่ 21). โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิรมล น้อยจันทร์. (2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้เทคนิค CIRC. Journal of Education, 12(6), 70-79.

ปริวรรต สมนึก. (2558). การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง

ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว. Journal of International and Thai Tourism, 11(1), 4-17.

ปารณัท ศุภพิมล. (2561). การใช้การสอนแบบบีสลิมเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.

Journal of Education Naresuan University, 20(3), 130-140.

ปิยวรรณ รุ่งวรพงศ์. (2557). ปัญหาการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาใหม่ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตตรัง. RMU.J. (Humanities and Social Sciences), 8(3), 119-126.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. (2542, 14 สิงหาคม).

ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก. หน้า 13.

พิชญา สารถี. (2553). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัด

การเรียนรู้โดยรูปแบบ B-SLIM [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

วิรัญชนา ใจสม. (2561, 18 ตุลาคม). ความสำคัญของภาษาอังกฤษในห้องเรียนยุค ๔.๐. ThaiJo. http://ejournal.nidtep.go.th/PDF/pdf5be2aa21d52dc.pdf

ศิริรัตน์ มงคล. (2553). การพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สริตา บัวเขียว. (2561). ความสามารถในการเขียนประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐานโดยใช้แบบฝึกทักษะไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

เรื่อง Sentence Building สำหรับครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชา

ภาษาอังกฤษ จังหวัดเพชรบุรี. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56 : สาขา

ศึกษาศาสตร์, สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ, สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (น. 230-237). สำนักงาน

กองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุจิตตรา สิงหการ. (2555). เทคนิคการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2012(1). 164-165.

สุพรรษา ทิพย์เที่ยงแท้. (2557). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่นชะอำ

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุภาพร พันเหลา. (2560). การวิจัยและพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

อารยา วิโรจน์. (2562). การพัฒนาการอ่านคำยากของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค

CIRC ประกอบแบบฝึก [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

อรัญญา ราชการกลาง. (2561). การพัฒนารูปแบบการสอนแบบ B-SLIM โดยบูรณาการเทคนิคการสอนแบบเพื่อนคู่คิดและ

ประยุกต์ใช้วิดีทัศน์ ในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการ

การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. 2561(5), 73-87.

อภิรักษ์ โต๊ะตาหยง และ อริยา คูหา. (2554). ผลของการสอนโดยการเรียนแบบร่วมมือแบบบูรณาการการอ่านและการเขียน

(CIRC) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านแบบการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนสองภาษา. วารสารมหาวิทยาลัย

นราธิวาสราชนครินทร์. 2011(2), 65-80.

ภาษาอังกฤษ

Bilash, O. (2000). Bilash’s success-based langauge instruction model (B-SLIM). New Direction. https://lunarlynn.wixsite.com/lunarlynn/b-slim-cee5.

Harris, D. P. (1974). Teaching English as a second language. McGraw Hill.

Johnson, D. W., & Johnson, R. T. (1987). Cooperation and Competition: Theory and Research.

Interaction Book.

Raimes, A. (1983). Techniques in teaching writing. Oxford University.

Ur, P. (2004). A course in language teaching: Practice and theory. Cambridge University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-04

How to Cite

ยอดไสว ส., ยอดไสว ส., บัวเขียว ส., & ยืนยง ย. (2022). การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการสอนแบบ B-SLIM model ร่วมกับเทคนิค CIRC สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 50(1), EDUCU5001004. https://doi.org/10.14456/educu.2022.4