แนวทางการออกแบบปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริงกับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

ผู้แต่ง

  • จงกล ทำสวน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศันสนีย์ เณรเทียน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2021.73

คำสำคัญ:

การคิดอย่างมีวิจารณญาณ, ปัญหาทางคณิตศาสตร์, ปัญหาในชีวิตจริง

บทคัดย่อ

การคิดอย่างมีวิจารณญาณในบทความนี้เป็นการคิดไตร่ตรอง การให้เหตุผล การวิเคราะห์และประเมินข้อมูลเพื่อตัดสินใจดำเนินการในสถานการณ์หรือแก้ปัญหาที่พบเจอ การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนในวิชาคณิตศาสตร์สามารถทำได้ในหลายแนวทาง สำหรับบทความนี้จะนำเสนอแนวทางการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่เหมาะสำหรับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในวิชาคณิตศาสตร์ใน 4 ลักษณะ ดังนี้ 1) ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่มีหลายคำตอบหรือหลายวิธีการ 2) ปัญหาเรื่องราวคณิตศาสตร์ที่เป็นสถานการณ์เสมือนจริงที่เน้นการเชื่อมโยงประสบการณ์ในชีวิตจริงมาใช้ในการแก้ปัญหา 3) ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่มีโครงสร้างไม่สมบูรณ์ และ 4) สถานการณ์หรือปัญหาในชีวิตจริงที่เน้นการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ ความคิดและประสบการณ์ที่มีอยู่มาใช้ในการอธิบายสถานการณ์หรือหาคำตอบของปัญหานั้น โดยสถานการณ์หรือปัญหาที่ออกแบบจะมุ่งพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามความสามารถย่อย ทั้งนี้ความรู้คณิตศาสตร์ที่สามารถนำมาใช้อธิบายสถานการณ์หรือแก้ปัญหาที่ออกแบบไว้ไม่จำเป็นต้องเป็นความรู้ในระดับสูงที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

Author Biographies

จงกล ทำสวน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศันสนีย์ เณรเทียน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
วรนิพิฎ พันธ์หนองหว้า. (2559). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาที่มีโครงสร้างไม่
สมบูรณ์ร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อความคิดที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55144
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุวรรณี เปลี่ยนรัมย์ และ ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์. (2550). การศึกษาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในสถานการณ์การแก้ปัญหา
แบบปลายเปิดทางคณิตศาสตร์. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 7(2), 208–217. https://ph02.tci-
thaijo.org/index.php/gskku/article/view/23852
เสาวลักษณ์ สุวรรณชัยรบ. (2563). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การเรียนรู้แบบสืบสอบที่มีต่อความรู้ทาง
คณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.
chula.ac.th/handle/123456789/76677



ภาษาอังกฤษ
Afifah, S. A., & Agoestanto, A. (2020). Mathematical critical thinking ability in solving open-ended questions
viewed from students’ curiosity. Unnes Journal of Mathematics Education, 9(1), 36-42.
https://doi.org/10.15294/ujme.v9i1.38099
Dwyer, C. P., Hogan, M. J., & Stewart, I. (2014). An integrated critical thinking framework for the 21st
century. Thinking skills and Creativity, 12, 43-52. https://doi.org/10.1016/j.tsc.2013.12.004
Ennis, R. H. (1985). A logical basis for measuring critical thinking skills. Educational Leadership, 43(2), 44 - 48.
Hikayat, C., Suparman, Hairun, Y., & Suharna, H. (2020). Design of realistic mathematics education approach
to improve critical thinking skills. Universal Journal of Educational Research, 8(6), 2232 - 2244.
https://doi.org/10.13189/ujer.2020.080606
Kennedy, M., Fisher, M. B., & Ennis, R. H. (1991). Critical thinking: Literature review and needed research.
In L. Idol & B. F. Jones (Eds.), Educational Values and Cognitive Instruction: Implications for Reform
(pp. 11 – 40). Lawrence Erlbaum.
Lai, E. R. (2011). Critical thinking: A literature review. Pearson Education.
Leader, L. F., & Middleton, J. A. (2004). Promoting critical-thinking dispositions by using problem solving in
middle school mathematics. Research in Middle School Level Education Online, 28(1), 1 -13.
https://doi.org/10.1080/19404476.2004.11658174
Partnership for 21st Century Skills. (2011). P21 common core toolkit: A guide to aligning the common core
state standards with the framework for 21st century skills. ERIC Clearinghouse.
Peter, E. E. (2012). Critical thinking: Essence for teaching mathematics and mathematics problem solving
skills. African Journal of Mathematics and Computer Science Research, 5(3), 39-43. https://doi.org/
10.5897/AJMCSR11.161
Siriwat, R., & Katwibun, D. (2017). Exploring critical thinking in a mathematics problem-based learning
classroom. In A. Downton, S. Livy, & J. Hall (Eds.), Proceedings of the 40th Annual Conference of
the Mathematics Education Research Group of Australia (pp. 474 - 481). MERGA.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-23

How to Cite

ทำสวน จ., & เณรเทียน ศ. (2021). แนวทางการออกแบบปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริงกับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 49(4), EDUCU4904014. https://doi.org/10.14456/educu.2021.73