การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษด้วยการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ผู้แต่ง

  • ภัคภร อุบลน้อย โรงเรียนบ้านลาดวิทยา
  • พีรพัฒน์ ยางกลาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2021.72

คำสำคัญ:

ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ, เน้นภาระงาน, สินค้าประจำท้องถิ่น

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่น  และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจและทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่น ตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 35คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย คือ 1) แบบทดสอบทักษะการพูด 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ 3) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง โดยหาค่าเฉลี่ย Mส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน SD t-test dependent และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยของทักษะการพูดภาษาอังกฤษของกลุ่มตัวอย่างหลังการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีระดับความพึงพอใจสูงสุด มีทัศนคติไปในทางบวก โดยเห็นว่าการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่นมีประโยชน์และสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้

Author Biographies

ภัคภร อุบลน้อย, โรงเรียนบ้านลาดวิทยา

ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนบ้านลาดวิทยา จ.เพชรบุรี

พีรพัฒน์ ยางกลาง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

References

ภาษาไทย
กมลวรรณ โดมศรีฟ้า. (2551). การศึกษาการใช้กิจกรรมการพูดเพื่อการสื่อสารในการพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Tea_Eng_For_Lan(M.A.)/Kamonwan_D.pdf
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ก). การขับเคลื่อนการศึกษามัธยมศึกษาไทย 4.0 เพื่อการมีงานทำแห่งศตวรรษที่ 21. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ข). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
คมชัดลึก. (2560, 16 มีนาคม). คิด(โซน)ของวัยทีน : เรียนอังกฤษแต่เด็กทำไมพูดไม่ได้. คมชัดลึก. https://www.komchadluek.net/news/edu-health/265267
จารึก อะยะวงศ์. (2556, 20 กุมภาพันธ์). เด็กไทยอ่อนภาษาอังกฤษ ผิดที่หลักสูตร. ศูนย์รวมเว็บไซต์โรงเรียนในประเทศไทย. http://www.educationnews.in.th/25502.html
พีรพัฒน์ ยางกลาง. (2556). กริยาวลีในภาษอังกฤษ. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 35(1), 142-160.
หริศักดิ์ พลตรี. (2558). ผลการใช้บทเรียนภาษาอังกฤษที่เน้นภาระงานและสาระท้องถิ่นต่อความสามารถการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนน้ำเกลี้ยงวิทยา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/968

ภาษาอังกฤษ
Albino, G. (2017). Improving speaking fluency in a task-based language teaching approach: The case of EFL learners at PUNIV-Cazenga. SAGE Open, 7(2) 1-11.
Bartz, H. (1979). Testing oral communication in the foreign language classroom. Center for Applied Linguistics.
Byrne, D. (1991). Teaching oral English. Longman Group.
Canale, M. & Swain, M. (1980). Theoretical bases of communicative approaches to second language teaching and testing. Applied Linguistics, 1(1), 1-47.
Ekler, T., & Cinkara, E. (2018). The impact of the topic familiarity on EFL students’ speaking scores. Gaziantep University, 2(2), 45-58.
Ellis, R. (2003). Task-based language learning and teaching. Oxford University Press.
Ghasemi, A. A., & Mozaheb, M. A. (2021). Developing EFL Learners' speaking fluency: Use of
practical techniques. MEXTESOL Journal, 45(3), 1-13
Gilakjani, A. P., & Ahmadi, S. M. (2011). The Effect of text familiarity on Iranian EFL learners'
listening comprehension. Journal of Language Teaching and Research, 2(4), 783-789
Harmer, J. (2007). How to teach English. Pearson Education Limited.
Heaton, J. B. (1990). Writing English language tests. Longman Group UK.
Kazemi, S. A., & Zarei, L. (2015). The efficacy of topic familiarity on oral presentation: Extensive speaking assessment task of Iranian EFL learners in TBLT. International Journal of Applied Linguistics and English Literature, 4(3), 93-97.
Littlewood, W. (1981). Communicative language teaching. Cambridge University Press.
Munirah, M., & Muhsin, M., A. (2015). Using task-based approach in improving the students’ speaking accuracy and fluency. Journal of Education and Human Development, 4(3), 181-190.
Nunan, D. (2004). Task-based language teaching. Cambridge University Press.
Porkaew, K. (2004). The roles of attitude and motivation in second and foreign language learning. Thammasat University Language Institute Journal, 69(1), 69-76.
Prabhu, N. (1987). Second language pedagogy. Oxford University Press.
Qiu, X. (2019). Functions of oral monologic tasks: Effects of topic familiarity on L2 speaking
performance. SAGE Journals, 24(6), 745-764.
Schmidt-Rinehart, B. C. (1994). The Effects of topic familiarity on second language listening
comprehension. The Modern Language Journal. 78(2), 179-189.
Thompson, C., & Millington, N. (2012). Task-based learning for communication and grammar use. Language Education in Asia Journal, 3(2), 159-167.
Valette, R. M. (1977). Modern language testing (2nd ed.). Harcourt Brace Jovanovich.
Willis, J. (1996). A framework for task-based learning (3rd ed.). Addison Wesley Longman.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-22

How to Cite

อุบลน้อย ภ., & ยางกลาง พ. (2021). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษด้วยการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 49(4), EDUCU4904013. https://doi.org/10.14456/educu.2021.72