กลยุทธ์การบริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษา
คำสำคัญ:
กลยุทธ์การบริหาร, การบริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัย, ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต, นิสิตนักศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเพื่อเสริมสร้าง
ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษา ใช้วิธีวิจัยแบบผสมวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐและเอกชน จำนวน 97 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI modified และเปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบ f-test
ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์การบริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษามี 5 กลยุทธ์หลัก ประกอบด้วย 1) กลยุทธ์การพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตในยุคดิจิทัล 2) กลยุทธ์การส่งเสริมการใช้คลังปัญญาสถาบันเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษา 3) กลยุทธ์การสร้างนวัตกรรมการสอนการรู้สารสนเทศดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษา 4) กลยุทธ์การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ 5) กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักวิชาชีพสารสนเทศ
References
ครรชิต มาลัยวงศ์. (2542, 24 กันยายน). การพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต. www.drkanchit.com/ict_ideas/articles/lifelearn.pdf
จันทรรัตน สิทธิสมจินต์, สุดใจ ธนไพศาล, กนกอร สมปราชญ์, และ สุรวีร์ รุ่งเรือง. (2557). กลยุทธ์การบริหารงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยสู่องค์การสมรรถนะสูง: กรณีศึกษาห้องสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารห้องสมุด, 58(1), 1-13.
เฉลิม วราวิทย์ และ ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (ม.ป.ป.). ทักษะ 7 ประการ ในการเกื้อหนุนการเรียนรู้. www.km.thaicyberu.go.th/linkfile/Books/Book5.pdf
ทบวงมหาวิทยาลัย. (2544). ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2544. ทบวงมหาวิทยาลัย.
ปิยสุดา ตันเลิศ และ กุลธิดา ท้วมสุข. (2554). บทบาทของห้องสมุดและนักวิชาชีพสารสนเทศสำหรับห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2553-2562. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 17(4), 608-623.
วิจิตร ศรีสอ้าน. (2545). การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong education). วารสารสออ.ประเทศไทย, 5(1), 12-18.
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. (2555). ก้าวใหม่ของห้องสมุด (Libraries on the move): การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2554 และประชุมวิชาการ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย วันที่ 28-30 มีนาคม 2555 ณ โรงแรมอะเดรียติคพาเลซ กรุงเทพมหานคร. สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). รายงานสรุปการสัมมนายุทธศาสตร์การเรียนรู้ตลอดชีวิต. สืบค้นจาก http://202.143.150.11/media/ebook/pdf/4318005/pdf.pdf.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (ม.ป.ป.). กรอบและทิศทางการวิจัยทางการศึกษาของประเทศ (พ.ศ. 2555-2558) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561). กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2554). พันธกิจ. http://www.clib.psu.ac.th/home/index.php?option=com_content&view=article&id=1808&Itemid=303&lang=th.
สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2555). พันธกิจ. http://lib.swu.ac.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=278&Itemid=90.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต. (2556). วิสัยทัศน์/ พันธกิจ. http://library.rsu.ac.th/library_vision.html.
สุมาลี สังข์ศรี. (2543). รายงานสรุปการสัมมนานโยบายส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตของประเทศไทย. สถาบันเทคโนโลยีการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สุมาลี สังข์ศรี. (2544). รายงานการวิจัย การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทยในศตวรรษที่ 21. สถาบันเทคโนโลยีการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนุรักษ์ อยู่วัง. (2555). การจัดการคลังสถาบันในห้องสมุดมหาวิทยาลัย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. CUIR. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45085
ภาษาอังกฤษ
Adams, D. (2007). Lifelong learning skills and attributes: The perceptions of Australian secondary school teachers. Issues in Educational Research, 17(2), 149-160.
Bangert, S. R. (1997). Values in college and university library mission statements: A search for distinctive beliefs, meaning, and organizational culture. Advances in Librarianship, 21, 91-106.
Collins, J. (2009). Lifelong learning in the 21st century and beyond. RadioGraphics, 29(2), 613-622. https://doi.org/10.1148/rg.292085179
Cotton, K. (1998). From high school student to lifelong learner [microform]: Your route to independence. Research you can use: Lifelong learning series, booklet 4 / Kathleen cotton. https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED422607.pdf
Dong, W. (2004). Improving students’ lifelong learning skills in Circuit Analysis. The China Papers, 4, 75-78.
European Commission. (2000). Commission staff working paper: A memorandum on lifelong learning. www.seeeducoop.net/education_in/pdf/lifelong-oth-enl-t02.pdf
European Commission. (2002). European report on quality indicators of lifelong learning: Fifteen quality indicators. http://ec.europa.eu/education/lifelonglearningpolicy/doc/policy/qualityreport_en.pdf
Hainuat, L. D. (1981). “Educational needs” in UNESCO curricula and lifelong education: Education on the move. Imprimeries de Chambery.
Hanewald, R. (2012). Cultivating life-long learning skills in undergraduate students through the collaborative creation of digital knowledge maps. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 69, 847-853.
Knapper, C. (2006). Lifelong learning means effective and sustainable learning reasons, ideas, concrete measures. http://www.ciea.ch/documents/s06_ref_knapper_e.pdf
Kwon, S. Y., & Cifuentes, L. (2009). The comparative effect of individually-constructed vs. collaboratively-constructed computer-based concept maps. Computers & Education, 52(2), 365-375.
Lewis, D. W. (2007). A strategy for academic libraries in the first quarter of the 21st century. College & Research Libraries, 68(5), 418-434.
Lublin, J. (2003). Lifelong learning and self-directed learning. http://api.ning.com/files/FrxSDD3tZkm6es*Chd5gYuGYpKgwzaUodu0ReLV6Dew5NNOTGNqc
iv3dAtuRbUUo8KN9EFQUcRCWk8U6JPzOs2w2Nxda71s0/lifeLongLearning.pdf
Newby, T., Stepich, D., Lehman, J., & Russell, J. (2000). Instructional technology for teaching and learning: Designing instruction, integrating computers, and using media (2nd ed.). Prentice Hall.
Nordstrom, N. M. (2011). Top 10 benefits of lifelong learning. http://www.selfgrowth.com/articles/Top_10Benefits_of_Lifelong_Learning.html
Smith, J., & Spurling, A. (1999). Lifelong learning riding the tiger. Cassell.
Tanloet, P., & Tuamsuk, K. (2011). Core competencies for information professionals of Thai academic libraries in the next decade (A.D. 2010–2019). The International Information & Library Review, 43(3), 122-129. http://dx.doi.org/10.1016/j.iilr.2011.07.005
Tuamsuk, K., Kwiecien, K., & Sarawanawong, J. (2013). A university library management model for students' learning support. The International Information & Library Review, 45(3–4), 94-107. http://dx.doi.org/10.1016/j.iilr.2013.10.002