แนวคิดการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มี ภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์, การพัฒนาภาวะผู้นำบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิดในการวิจัยกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ ผู้ทรงคุณวุฒิมี 5 ท่าน เครื่องมือ คือ แบบประเมินความตรงของแนวคิดและดัชนี IOC ผลการวิจัยพบว่า (1) แนวคิดการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ มี 2 องค์ประกอบ (2) แนวคิดภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ใช้แนวคิดรูปแบบพีรามิดของภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ที่ประกอบด้วย ความรู้โลกาภิวัตน์ ลักษณะสำคัญ ทัศนคติและการปรับแนวคิด ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และทักษะระบบ และ (3) แนวคิดการพัฒนาภาวะผู้นำใช้แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำที่ประกอบด้วย การพัฒนาส่วนบุคคล การเข้าใจความคิดรวบยอด การให้ข้อติชม และการพัฒนาทักษะ ผลการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า ทั้งสองแนวคิดมีความตรงต่อการพัฒนาภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์
References
กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน. (2555). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
โครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค. (2555). Thailand Education Hub. สืบค้นจาก https://edhubthai.wordpress.com/education-hub/
คณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาของประธานาธิบดี สาธารณรัฐเกาหลี. (2546). การปฏิรูปการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21 เพื่อความเป็นผู้นำในยุคสารสนเทศและโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ทิพย์สิริ กาญจนวาสี และ ศิริชัย กาญจนวาสี. (2559). วิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: ทรีบีการพิมพ์และตรายาง.
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2558). ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 240/2558 การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของศธ. สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/websm/2015/jul/240.html
เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2554). การบริหาร ทักษะและการปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
ภาษาอังกฤษ
Allen, S. J., & Hartman, N. S. (2008). Leadership development: An exploration of sources of learning. SAM Advanced Management Journal, 73(1), 10-62.
Coelli, M., & Green, D. A. (2012). Leadership effects: School principals and student outcomes. Economics of Education Review, 31(1), 92-109.
Day, D. V. (2001). Leadership development: A review in context. The Leadership Quarterly, 11(4), 581-613.
Dimmock, C., & Cheng, Y. T. (2013). Educational leadership in Singapore tight coupling, sustainability, scalability, and succession. Journal of Educational Administration, 51(3), 320-340.
Keung, E. K., & Rockinson-Szapkiw, A. J. (2013). The relationship between transformational leadership and cultural intelligence: A study of international school leaders. Journal of Educational Administration, 51(6), 836-854.
Osland, J. S. (2013). An overview of the global leadership literature. In M. E. Mendenhall, J. S. Osland, A. Bird, G. R. Oddou, M. L. Maznevski, M. J. Stevens, & G. K. Stahl (Eds.), Global leadership: Research, practice, and development (2nd ed.). New York: Routledge.
Scott, G., Coates, H., & Anderson, M. (2008). Learning leadership in times of change: Academicleadership capabilities for Australian higher education. Australia: University of Western Sydney and Australian Council for Educational Research.
Sergiovanni, T. J., McCarthy, M. M., Fowler, F. C., & Kelleher, P. (2004). Educational governance and administration (5th ed.). Boston, MA: Pearson.