แนวทางการบริหารความขัดแย้งในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

Main Article Content

Natchanan Ratanakitworapong
Kanchanan Boonphak
Suwanna Innoi

Abstract

    The purposes of this research were to: 1) Investigate the level of conflict which in schools under Secondary Educational Service Area Office 2, 2) Study the conflict management which administrators applied in schools under Secondary Educational Service Area Office 2. The target population were 260 administrators in schools under Secondary Educational Service Area Office 2, academic year 2018 which were selected by purposive sampling. The research instruments used in this study was a questionnaire that reliability value was 0.908. The data was analyzed by percentage, mean, and standard deviation.


     The result of this research found that: 1) the level of conflict in schools under Secondary Educational Service Area Office 2 in overall was at the high level (gif.latex?\bar{x}  = 3.50, S.D. = 1.006) According to each scale the highest three were conflict of working interaction (gif.latex?\bar{x}  = 3.56, S.D. = .908), conflict of interest (gif.latex?\bar{x}  = 3.55, S.D. = 1.293) and conflict of working structure (gif.latex?\bar{x}  = 3.51, S.D.  = .994) The second scale were conflict of information (gif.latex?\bar{x} = 3.49, S.D. = .94) and conflict of culture (gif.latex?\bar{x} = 3.41, S.D.  = .896). 2) the conflict management used by administrators in schools under Secondary Educational Service Area Office 2 was at average level. (gif.latex?\bar{x}  = 3.45, S.D. = 0.945) According to each scale the highest  were compromising (gif.latex?\bar{x}  = 4.002, S.D. = 0.6732) The second scale were obliging (gif.latex?\bar{x} = 3.43, S.D. = 0.88), dominating (gif.latex?\bar{x}  = 3.33, S.D.  = 1.181) and avoiding (gif.latex?\bar{x}  = 3.03, S.D. = 1.045) 

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กนกภรณ์ ชื่นตา. (2556). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
จุฑามาศ รุจิรตานนท์. (2547). การศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงานงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
เจริญ โคกสีอํานวย. (2546). วิธีแก้ความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2550). การจัดการความขัดแย้งในองค์กร. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ถวัลย์ วรเทพพุทธิพงษ์, & สุรสิทธิ์ รุ่งเรืองศิลป์. (2525). การแก้ปัญหาข้อขัดแย้งในหน่วยเทศาภิบาล. กรุงเทพฯ: กรมบัญชีกลาง.
ทองคูณ หงส์พันธุ์. (2543). ผู้บริหารมือใหม่ในสถานการณ์เปลี่ยนแปลง. บุรีรัมย์: สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์.
ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. (2550). การจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
นุตประวีณ์ เบาเนิ้ด. (2555). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติงานของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รังสรรค์ เหมันต.์ (2546). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร จำกัด.
รันชญา แซ่เล้า. (2548). การจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วราภรณ์ คุณธรรม. (2555). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม.
วันชัย วัฒนศัพท์. (2542). กระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง: ยุทธศาสตร์การนำไปใช้เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง. ขอนแก่น: สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วันชัย วัฒนศัพท์, & รัตนาภรณ์ วัฒนศัพท์. (2552). การแก้ปัญหาความขัดแย้งในสถานศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2545). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี ประเด็นทางการศึกษาและบทวิเคราะห์ องค์การศึกษาไทย พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: พิมพ์พิสุทธ์.
สมทรง เพชรคง. (2548). การศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
สัมมา รธนิธย์. (2553). เอกสารคำสอนหลักทฤษฎีและปฎิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: แอล. ที. เพลส.
สุวิทย์ บัวกอง. (2559). การบริหารความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มโรงเรียนดงขุย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยนครราชสีมา.
เสน่ห์ โสมนัส. (2548). การศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีจัดการกับปัญหาความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2545). ความขัดแย้ง-การบริหารเพื่อความสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ตะเกียง.
อัจฉรา ลิ้มวงษ์ทอง. (2557). การบริหารความขัดแย้งในองค์การ. กรุงเทพฯ: บุ๊คส์ ทู ยู.
เอมอร กฤษณะรังสรรค์. (2554). ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2561, จาก http://www. novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill.htm
อุเทน ทองสวัสดิ์. (2551). การศึกษาความขัดแย้งและวิธีการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
Moore, G. A. (1996). Organization type and reported conflict styles. Ed.D Dissertation, Peabody College for Teachers, Vanderbilt University.
Pneuman, R. W. & Bruhl M. E. (1982). Managing Conflict. New Jersey: Prentice-Hall.
Rahim, M. A. (1983). A measure of styles of handing interpersonal conflict. Academy of Management Journal, 26(2), 368-376.
Thomas, K. W., & Kilmann, R. H. (1796). Conflict and conflict management. In M. D. Dunnette (Ed.). Handbook of industrial and organization psychology. Chicago: Rand McNally.