การจัดการสื่อสารเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

Main Article Content

กิจอุดม เสือเจริญ
กานต์ บุญศิริ
วิทยาธร ท่อแก้ว

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความวิชาการอธิบายถึงการจัดการสื่อสารเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมุ่งเน้นนำเสนอถึงความสำคัญของการสื่อสารเครือข่าย แนวคิดการจัดการสื่อสารเครือข่าย การสื่อสารการท่องเที่ยว แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสื่อสาร จะเป็นข้อค้นพบที่เป็นคุณค่าในการสื่อสารเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน องค์กร เครือข่ายด้านการท่องเที่ยว สามารถจัดระบบกระบวนการผสานเครือข่ายเพื่อกำหนดกิจกรรมขับเคลื่อนผลักดันห่วงโซ่คุณภาพการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวภายในประเทศ เสริมสร้างและเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวในระดับนานาชาติต่อไป

Article Details

How to Cite
เสือเจริญ ก., บุญศิริ ก., & ท่อแก้ว ว. (2024). การจัดการสื่อสารเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน, 6(1), 14–31. https://doi.org/10.14456/jappm.2024.2
บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). World Economic Forum 2019. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2566,จาก https://www.mots.go.th/Search_new.php?keysearch=world+economic+forum+ 2019&type=all

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง กับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์

กาญจนา แก้วเทพ. (2557). เรื่องสื่อสาร การท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

จิตรฑิมา ศรีพลชุม, กมลพร ลาดมี และเมษ์ธาวิน พลโยธี. (2564). กลยุทธ์การสื่อสารทางการท่องเที่ยวของหมู่บ้านคีรีวง อำเภอนายูง จังหวัดอุดรราชธานี เพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 17(2),41-60.

ชิตาวีร์ สุขคร. (2561). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเทศไทย. วารสารพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, 1(2),1-7.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2551). การมีส่วนร่วม: แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการ. เอกสารประกอบการศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา วันอังคารที่ 17 มิถุนายน 2551 ณ สถาบันพระปกเกล้า. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.

ธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์. (2555). การจัดการการสื่อสารภายในบุคลเพื่อการพัฒนาตน. ในการสัมมนาวิชาการเรี่องการสื่อสารเพื่อการพัฒนาวันที่ 29-30 มีนาคม 2555 โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์กำแพงเพชรมหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และเพ็ญศิริ ศรีคำภา. (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ปัทมาวดี วงษ์เกิด. (2564). การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ช้างสุรินทร์ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีนิพนธ์). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ปาริชาติ สถาปิตานนท์ และชัยวัฒน์ ถิระพันธ์. (2546). สื่อสารกับสังคมเครือข่าย. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร 3 “การสร้างเครือข่ายที่มีพลัง” สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา. กรุงเทพฯ: สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาคม.

ภรณ์ทิพย์ สิงห์นิล. (2559). การจัดการทางการสื่อสารของผู้บริหารเจนเนอเรชั่นวาย เพื่อสร้างการยอมรับจากบุคลากรภายในองค์การ (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัฐธรรมนญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช. (2560). ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก.

สุทธินันท์ โสตวิถี และคณะ (2562). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 4(1), 53-62.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร และสถาพร สายเชื้อ. (2549). การสื่อสารเพื่อการจัดการในองค์การธุรกิจ. กรุงเทพฯ:สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร และอรรถพร กงวิไล. (2550). สถานภาพองค์ความรู้ของการจัดการทางการสื่อสารในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เสรี พงศ์พิศ และคณะ. (2543). การปฏิรูปและพัฒนาการศึกษาแนวคิดและประสบการณ์ของโรงเรียนและชุมชนบางแห่งในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิหมู่บ้าน.

Boissevain, J. (1974). Friends of Friends. Networks, Manipulators and Coalitions. Oxford: Blackwell.

Borgatta, E.F. (1992). Encyclopedia of Sociology Volume 4. New York: Macmillan.

Charlotte. (2023). The 5 As of Tourism. Retrieved June 26, 2023. from https://thegeoroom.com/the-5-as-of-tourism/

Cohen, J. M. & Uphoff, N. (1980). Rural Development Participation: Concepts and Measures for Project Design, Implementation and Evaluation. Ithaca NY: Rural Development Committee, Cornell University.

Etuk, E. J. (1991). Foundation of Modern Management. Calabar: Unical Press.

ICOMOS. (1999). International Cultural Tourism Charter Managing Tourism at Places of Heritage Significance. Retrieved May 5, 2023, from www.icomos.org

Ivanovic, M. (2008). Cultural tourism. Cape Town, South Africa: Juta & Company.

Marriam Webster. (2023). The search was conducted. Retrieved January 3, 2023, from merriam-webster.com

Tourism, WA. (2016). The 5 As of Tourism. Retrieved June 25, 2023, from www.tourism.wa.gov.au