สื่อสังคมออนไลน์: การสื่อสารทางการเมืองในยุคดิจิตัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
สื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อที่แพร่กระจายด้วยปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมเป็นผลมาจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มากขึ้น โดยเฉพาะทางการเมือง ปัจจุบันนี้เป็นที่นิยมและมีความสำคัญต่อนักการเมืองและพรรคการเมือง เพราะเป็นช่องทางในการสื่อสารทางการเมืองไปยังกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย คือ การได้รับชัยชนะในสนามเลือกตั้ง สื่อสังคมออนไลน์มีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับผู้ส่งสารจะส่งสารรูปแบบใด ด้วยช่องทางสื่อสารประเภทใดเพื่อให้ผู้รับสารได้เข้าถึงสารนั้นได้ง่าย รวดเร็ว และเป็นการสื่อสารสองทางที่มีประสิทธิภาพมากในยุคดิจิตัล แต่ในขณะเดียวกันสื่อสังคมออนไลน์ยังมีข้อเสียด้วยเช่นกัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2554). การเมืองบุกโซเชียล-มีเดีย-เจาะสนามเลือกตั้ง 2554. สืบค้นหาเมื่อ 30 มกราคม 2566, จาก http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/business/media/20110517/ 390890/
กานต์ บุญศิริ. (2565). การหาเสียงเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา พรรคประชาธิปัตย์. มนุษยสังคมสาร (มสส.), 20(3), 165-187.
คันธิรา ฉายาวงศ์. (2564). แนวโน้มการเมืองไทยกับสื่อสังคมออนไลน์ในศตวรรษที่ 21. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 6(1), 97-107.
ทรายคำเปลวจันทร์ และ อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2564). กลยุทธ์การตลาดทางการเมืองของนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นันทวิช เหล่าวิชยา. (2566). สื่อสังคมออนไลน์กับการสื่อสารการเมืองไทย. วารสารนักบริหาร, 32(2), 120-124.
พระครูใบฎีกาวิชาญ วิสุทโธ. (2565). การสื่อสารทางการเมืองในยุคดิจิทัล. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(1), 109-120.
พลศักดิ์ จิรไกรศิริ. (2524). วัฒนธรรมทางการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
พันธ์ศักดิ์ อาภาขจร. (2562). โซเชียลมีเดียหลังเลือกตั้ง: ตั้งสติก่อนเสพสื่อ. สืบค้นหาเมื่อ 30 มกราคม 2566, จาก https://www.isranews.org/isranews-article/75135-social75135.html
พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. (2554). สื่อสังคมออนไลน์: สื่อแห่งอนาคต. วารสารนักบริหาร, 31(4), 99-103.
พิรงรอง รามสูต. (2562). ห้องแห่งเสียงสะท้อนออนไลน์ กับผู้ออกเสียงเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562 (รายงานวิจัย). สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
ศิวกร ปล้องใหม่. (2565). หญิงชาวญี่ปุ่นชนะเลือกตั้งนายกเทศมนตรีในโตเกียว แม้ตัวอยู่เบลเยียม หาเสียงออนไลน์. สืบค้นหาเมื่อ 30 มกราคม 2566, จาก https://www.beartai.com/brief/1089488
สุรัชนี ศรีใย. (2562). “ลงถนน” ยังจำเป็นไหมในยุคที่สังคมเคลื่อนไหวผ่านโซเชียลมีเดีย. สืบค้นหาเมื่อ 30 มกราคม 2566, จาก https://thestandard.co/political-rally
อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล. (2555). การเมืองบนเฟสบุ๊ก: วัฒนธรรม-การเมืองบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ไทย พ.ศ. 2553-2555 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์. (2566). การหาเสียงเลือกตั้งด้วยอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษาโอบามา. สืบค้นหาเมื่อ 30 มกราคม 2566, จาก https://thainetizen.org/2009/01/case-study-election-campaign-with-the-internet/
Johnson, D.W. (2001). No Place for Amateurs. London: Routledge.
Lasswell, H. D. (1963). Power and Society. New Haven: Yale University Press.
Mark, P. (2007). Microtrends : The Small Forces Behind Tomorrow’s Big Changes. London: Routledge.
Relyea, V.A. (2017). Social Media for Political Campaigns. Retrieved Jan 30, 2010, from http://www.likeavosssm.com/social-media-political-campaigns/
Vedel, T. (2003). Political communication in the age of internet. InP. J. Maarek, P.J. & Wolfsfeld, G. (Eds.), Political communication in a new era: A cross-national perspective. London: Routledge.
Wikipedia.(2010). Microblogging. Retrieved Jan 30, 2010, from https://en.wikipedia .org/wiki/Microblogging