การทบทวนแนวคิดการจัดการความรู้ในองค์กร

Main Article Content

สุธรรม สิกขาจารย์
ทัศนีย์ ช่อเทียนทิพย์
วิรัตน์ มณีพฤกษ์
ทศพล อัครพงษ์ไพบูลย์
จำรัส แจ่มจันทร์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นการรวบรวมเนื้อหาประเด็นสำคัญเกี่ยวกับแนวคิดการจัดการความรู้ในองค์กร มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวคิดด้านการจัดการความรู้ในองค์กร ประกอบด้วย (1) ความหมายการจัดการความรู้ (2) องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (3) กระบวนการในการจัดการความรู้ และ (4) ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการจัดการความรู้ บทความวิชาการนี้จึงช่วยสร้างความเข้าใจต่อการจัดการความรู้ซึ่งเป็นกระบวนการของการถ่ายโอนความรู้อย่างเหมาะสม และเป็นระบบ เพื่อให้สามารถพัฒนาไปสู่การเกิดองค์ความรู้ต่าง ๆ ในองค์กร อย่างไรก็ตาม การจัดการองค์ความรู้นั้นจำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ รวมทั้งต้องเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างองค์ความรู้และวิธีการจัดการความรู้ในองค์กรเพื่อให้บุคคลในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฉลาด จันทรสมบัติ. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรชุมชน (วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2548). บุคลากรทางการศึกษา: ทักษะในการจัดการความรู้. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 1(1), 11-13.

ฐิติเดช ลือตระกูล. (2562). แนวคิดและขั้นตอนการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan). สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2562, จาก https://www.phar.ubu.ac.th/km/?p=197

นลวัชร ขุนลา เกษราภรณ สุตตาพงค. (2558). การจัดการความรู้สู่การสร้างองค์กรที่ประสบความสำเร็จ. วารสารนักบริหาร, 35, 134.

บดินทร์ วิจารณ์. (2547). การจัดการความรู้ สู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ธรรมกมลการพิมพ์.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชธานี. (2555). คู่มือการจัดการความรู้. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชธานี.

บุญดี บุญญากิจ. (2549). การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2551). กลั่นสามก๊ก: ฉบับนักบริหาร. กรุงเทพฯ: แสงดาว.

พรรณี สวนเพลง. (2552). เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมสาหรับการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ:

ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ยุทธนา แซ่เตียว. (2547). การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้: สร้างองค์กรอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟิกส์.

รุจิจันทร์ พิริยะสงวนพงศ์. (2549). สารสนเทศทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2551). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

Argote, L., Ingram, P., Levine, J. M., & Moreland, R. L. (2000). Knowledge transfer in organizations: Learning from the experience of others. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 82(1), 1-8.

Franklin, B. (2005). Knowledge management synergy. Retrieved April 13, 2018, from http://www.providersedge.com/kma

Hurley, T. A., & Green, C. W. (2005). Knowledge management and the nonprofit industry: A within and between approach. Retrieved April 20, 2018, from http://www.tlainc.com/articl79.htm

Hussain, F., Lucas, C., & Ali, M. A. (2004). Managing knowledge effectively. Retrieved May 6, 2018, from http://www.tlainc.com/ articl66.htm

Franklin, B. (2005).Knowledge Management Synergy. Retrieved May 6, 2018, from http://www. providersedge.com/kma

Marquardt, M. J. (1996). Building the learning organization: a systems approach to quantum improvement and global success. New York: McGraw-Hill.

Marquardt, M. J. (2002). Building the learning organization: A systems approach to quantum improvement and global success. New York: McGraw-Hill.

Newman, B., & Conrad, K. W. (1999). A framework for characterizing knowledge management methods, practice, and technologies. Retrieved May 23, 2018, from http://www.km-forum.org/KM-Characterization-Framework.pdf

Rowley, J. (1999). What is knowledge management?. The Journal of Knowledge Management, 20(8), 416-419.

Seng, C. V., Zannes, E., & Pace, R. W. (2002). The contributions of knowledge management to workplace learning. Journal of Workplace Learning, 14(4), 138-147.