ปัจจัยท่ีี่ี่ส่งผลต่อความผูกพันของลูกจ้างในองค์กรธุรกิจครอบครัวอุตสาหกรรมเซรามิกจังหวัดลำปาง

Main Article Content

ภัทริกา มณีพันธ์

Abstract

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาระดับการรับรู้ของลูกจ้างด้านศักยภาพของ ผู้สืบทอดและความน่าเช่ือถือของผู้นําา ที่ส่งผลต่อความผูกพันของลูกจ้างในองค์กรที่เป็นธุรกิจ ครอบครวั ของอตุ สาหกรรมเซรามกิ จงั หวดั ลาํา ปาง และ 2) ศกึ ษาปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความผกู พนั ของ ลูกจ้างในองค์กรทเี่ป็นธรุกจิครอบครวัของอตุสาหกรรมเซรามกิจังหวดัลําาปางกล่มุตัวอย่างที่ใช้ ในการวจิ ยั เปน็ ลกู จา้ งประจาํา ทท่ี าํา งานกบั ผกู้ อ่ ตง้ั อยา่ งนอ้ ย 3 ปี และทาํา งานกบั ผสู้ บื ทอดอยา่ งนอ้ ย 2ปีจากโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดกลางและขนาดย่อมทเี่ป็นธรุกิจครอบครวัในจังหวดั ลาําปางโดยกล่มุตวัอย่างได้มาจากการสุ่มแบบหลายขัน้ตอน(Multi-stateRandomSampling) จําานวน 346 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาครั้งน้ี เป็นแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยดําาเนินการสร้างขึ้นบนฐานแนวคิด ทฤษฎีของตัวแปร วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way anova) การวิ เคราะหค์่าสมัประสทิธ์สหสมัพนัธ์แบบเพยีรส์ัน(Pearson’sproductmomentcoefficient)และ การวเิคราะห์การถดถอยพหุคูณ(multipleregressionanalysis)และใชโ้ปแกรมLISRELversion 8.80 ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (confirmatory factor analysis) และตรวจสอบ ความสอดคล้องระหว่าง ตัวแบบตามทฤษฎกี ับข้อมลู เชิงประจักษ์

The purposes of this research were 1) to study the level of employees’ perception in the successors’ competency and the leaders’ credibility that affected the employees’ commitment in family business of ceramic industry, Lampang province, and 2) to explore the factors that affected the employees’ commitment in family business of ceramic industry, Lampang province. The samplings were the full time employees who had

working with the founders at least 3 years and with the successors at least 2 years totally 346 persons in family business of small and medium size ceramics industry, Lampang province by using multi-state random sampling.

The instrument used to collect data was the questionnaires which were designed by the researcher. The instruments used to analyze data were means, standard deviation,one way ANOVA, Pearson’s product moment coefficient, and the Multiple Regression Analysis. The software computer program, LISREL version 8.80, was applied in confirmatory factor analysis. The correlation to the model was also inspected through the empirical research.

Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์