ผลกรจัดการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านและการเขียน โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD

Main Article Content

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์
สุดาเรศ รัตนถาวร
เหมราช ธนะปัทม์
สุุมิตร สมศรี
อดุลย์ สนั่นเอื้อเม็งไธสง

Abstract

การจดัการเรยีนรทู้ี่เนน้ผูเ้รยีนเปน็สําาคญัซ่งึเป็นไปตามแนวทางการปฏริปูการศึกษา ครูจําาเป็นต้องรู้จักปรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ น่ันคือมีการปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนและ สรา้งสือ่การเรยีนการสอนให้มคีวามหลากหลายใหเ้หมาะสมกับเน้ือหาและวยัของนักเรียนรวม ถงึความตอ้งการของนกัเรยีนและส่งเสริมทักษะการอา่นและการเขียนเพอื่เปน็ประโยชน์ในการ เรียนรู้ในอนาคตดงัน้ันผลการจดัการเรยีนรู้ภาษาไทยดา้นการอ่านและการเขียนโดยใชแ้บบฝกึ ทกั ษะประกอบการจดั กจิ กรรมกลมุ่ รว่ มมอื แบบ STAD โดยมคี วามมงุ่ หมายเพอ่ื หาประสทิ ธภิ าพของ การจัดการเรียนรภู้าษาไทยโดยใชแ้บบฝกึทกัษะการอา่นและการเขยีนประกอบการจดักิจกรรม กลุ่มร่วมมือแบบ STAD ตามเกณฑ์ 70/70 เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ภาษา ไทยโดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่นและการเขยีนประกอบการจดักิจกรรมกลุม่ร่วมมือแบบSTAD กลุม่ ตัวอยา่ งไดแ้ ก่ โรงเรียนสงั กดั เทศบาลเมืองมหาสารคาม จาํา นวน 7 โรงเรยี น ภาคเรยี นที่

2ปกีารศกึษา2551รวมนกัเรยีนทัง้สิน้743คนซ่งึได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงเครือ่งมอื ที่ใช้ได้แก่แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนประกอบ การจัดกิจกรรมกลมุ่ร่วมมือแบบSTADจาํานวน11แผนและแบบทดสอบวดัผลสมัฤทธดิ์้านการ อ่านและการเขียนชนิดเลืกตอบ และชนิดอัตนัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยีและสว่นเบยี่งเบนมาตรฐาน

 

Learner-centric approaches for strategies of education reform will be explored and adapted to serve ongoing programs being implemented. It is necessary for teachers to seek methods and medias for improvement focused on teaching and learning appropriately activities for students to be able to reading and writing skill in the future. Thus this study aimed : (1) to find out efficiencies of Thai course by using skill drill work sheets of reading and writing and Students Team - Achievement Division (STAD) activities with a required efficiency of 70/70, and (2) to find out effectiveness indices of Thai course

by using skill drill work sheets of reading and writing and Students Team - Achievement Division (STAD) activities, which was designed as one group pretest-post-test model, was conducted in second semester 2008 academic year at Maha Sarakham Municipality School in Maha Sarakham, Thailand. Seven schools, were determined as experimental groups. The participants of this study were 743, obtained using the purposive sampling. The instruments used were 11 lesson plans for Thai course by using skill drill work sheets of reading and writing and Students Team - Achievement Division (STAD) activities. The statistics used were percentage, mean, and standard deviation.

Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์