ผลการเรยี นโดยวธิ กี ารสอนแบบโฟนกิ สร์ ว่ มกบั การใชเ้ ทคนคิ การปรบั พฤตกิ รรม เสริมแรงดว้ยเบ้ยีอรรถกรและการสอนแบบคูม่ือครทูมี่ตี่อความสามารถในการ อา่นสะกดคําาของเดก็ที่มปีญัหาทางการเรียนรู้

Main Article Content

รุจิรา ลายเมฆ
พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ์
นิราศ จันทรจิตร

Abstract

การวิจัยครั้งน้ีมีความมุ่งหมายเพ่ือ 1) เปรียบเทียบความสามารถการอ่านสะกดคําาของ เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ก่อนและหลังการสอนแบบโฟนิกส์ร่วมกับการใช้เทคนิคการปรับ พฤติกรรมเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร และ 2) เปรียบเทียบความสามารถการอ่านสะกดคําาของ เด็กท่ีมีปัญหาทางการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบโฟนิกส์ร่วมกับการใช้เทคนิคการเสริมแรงด้วย เบยี้ อรรถกรและการสอนแบบคมู่ อื ครู กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการวจิ ยั เปน็ นกั เรยี นชว่ งชนั้ 2 โรงเรยี น บ้านเซินราษฎร์เกษมศรี สําานักงานเขตพื้นที่หนองบัวลําาภู เขต 2 ปีการศึกษา 2551 ที่มีปัญหา ทางการเรียนรู้ด้านการอา่ นสะกดคาํา จาํา นวน 10 คน

แบง่ เปน็ กลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ กลมุ่ ละ 5 คน โดยการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling)เคร่อืงมือที่ใชใ้นการวจิัยคือ1)แผนการเรียนรูแ้บบโฟนกิส์รว่มกับการใชเ้ทคนคิการ ปรบั พฤติกรรมเสรมิ แรงด้วยเบีย้ อรรถกร 2) แผนการสอนแบบคมู่ ือครู อยา่ งละแผนทําาการ

สอนแผนละ60นาที3)แบบทดสอบการอ่านสะกดคาําจาํานวน1ฉบับชนดิเลือกตอบ4ตัวเลอืก จําานวน 30 ข้อ และ 4) แบบทดสอบการอ่านสะกดคําา จําานวน 1 ฉบับ จําานวน 30 ข้อ สถิติท่ี ใช้ในการทดสอบสมติฐานคือ การทดสอบขนาดความแตกต่างของข้อมูลแต่ละคู่โดยเรียงลําาดับ เครื่องหมายของวิลคอกซัน (The Wilcoxon Matched Pairs Signed - Ranks Test) และการ ทดสอบความแตกตา่งระหว่างคา่เฉลยี่ของประชากรสองชดุของแมน-วทินยี์ยู(TheMann- Whitney U Test)

 

The purposes of this study were to: 1) development of word reading - spelling of the students with learning disabilities problems which will be effective, must use techniques of teaching and reinforcement behavioral adjustment to stimulate children to generate learning which are different from normal children in organization of learning and teaching to be efficient. and 2) compare word reading - spelling with learning disabilities problems before and after the phonics teaching approach together with using the reinforcement behavioral adjustment technique with Token Economy; and to compare word reading-spelling with learning disabilities problems using the phonics teaching approach together with using the reinforcement behavioral adjustment technique with Token Economy and the teacher’s handbook teaching method. The sample consisted of 10 second-interval students at Ban Soen Rat Kasem Si School under the Office of Nong Bua Lam Phu Educational Service Area Zone 2 in the second semester of the academic year 2008. They were assigned to an Experimental group and a control group, 5 students


each; obtained using the purposive sampling technique. The instruments used in the study were: 1) phonics learning plans together with using the reinforcement behavioral adjustment technique with the Token Economy, 2) teacher’s handbook teaching plans, 20 plans each, each taught for 60 minutes ; 3) a 30 - item 4 - choice test of word reading-spelling with difficulties ranging .22 - .79, discriminating powers ranging.22 -. 67, and a reliability of .81; and 4) 30 - item (Word) test of word read-spelling. The statistics use for testing hypotheses were Wilcoxon Matched Pairs Signed - Ranks test and the Mann - Whitney U test


Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์