ผลการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านและการเขียน โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ stad
Main Article Content
Abstract
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นไปตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาครูจำเป็นต้องรู้จักปรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นั่นคือ มีการปรับเปลี่ยนวิธีสอนและสร้างสื่อการเรียนการสอนให้มีควมหลากหลายให้เหมาะสมกับเนื้อหาและวัยของนักเรียน รวมถึงความต้องการของนักเรียน และส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนเพื่อเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ในอนาคต ดังนั้นผลการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านและการเขียน โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ตามเกณฑ์ 70/70 เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองมหาสารคาม จำนวน 7 โรงเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 รวมนักเรียนทั้งสิ้น 743 คน
Learner-centric approaches for strategies of education reform will be explored and adapted to serve ongoing programs being implemented. It is necessary for teachers to seek methods and medias for improvement focused on teaching and learning appropriately activities for students to be able to reading and writing skill in the future. Thus this study aimed : (1) to find out efficiencies of Thai course by using skill drill work sheets of reading and writing and Students Team - Achievement Division (STAD) activities with a required efficiency of 70/70, and (2) to find out effectiveness indices of Thai course
by using skill drill work sheets of reading and writing and Students Team - Achievement Division (STAD) activities, which was designed as one group pretest-post-test model, was conducted in second semester 2008 academic year at Maha Sarakham Municipality School in Maha Sarakham, Thailand. Seven schools, were determined as experimental groups. The participants of this study were 743, obtained using the purposive sampling. The instruments used were 11 lesson plans for Thai course by using skill drill work sheets of reading and writing and Students Team - Achievement Division (STAD) activities. The statistics used were percentage, mean, and standard deviation.