ปัจจัยท่ีส่งผลต่อสุขภาพองค์การของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสําานักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษายโสธร

Main Article Content

สราวุฒิ ปุริสา
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์
อนันต์ ศรีอำไพ

Abstract

การวิจัยน้ีมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสุขภาพองค์การของโรงเรียน 2) ศึกษาปัจจัย ที่ส่งผลต่อสุขภาพองค์การของโรงเรียน และ 3) สร้างสมการพยากรณ์สุขภาพองค์การของ โรงเรยีนสังกัดสาํานักงานเขตพ้นืทกี่ารศกึษายโสธรกล่มุตวัอยา่งคือผ้ใูหข้อ้มลูซงึ่เป็นผูบ้รหิาร สถานศกึษาและครผููส้อนจาํานวน495คนจากโรงเรียนขนาดเลก็81คนโรงเรียนขนาดกลาง 60 คน โรงเรียนขนาดใหญ่ 24 คน สังกัดสําานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษายโสธร ใช้การสุ่มแบบ แบง่ช้ัน(StratifiedRandomSampling)ผใู้หข้้อมูลจาําแนกเป็นผู้บริหารสถานศกึษาไดม้าโดย การเลอืกแบบเจาะจง(PurposiveSampling)จาํานวน165คนและครผููส้อนไดม้าด้วยการสมุ่ อยา่งงา่ย(SimpleRandomSampling)จากโรงเรียนขนาดเล็กจําานวน162คนโรงเรียนขนาด กลางจาํานวน120คนและโรงเรยีนขนาดใหญ่จาํานวน48คนรวมจําานวน330คนเครอื่งมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสําารวจรายการ และจําาแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณค่าซึง่ผา่นการตรวจสอบความตรงเชงิโครงสรา้ง(ConstructValidity)ความตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) ความเหมาะสม ชัดเจน และความถูกต้องของการใช้ภาษาจากผู้ เช่ียวชาญ นําาเคร่ืองมือไปทดลองใช้หาค่าความเช่ือมั่น แล้วนําาไปทดสอบจริง สถิติที่ใช้ในการ ว เิ ค ร า ะ ห ข์ อ้ ม ลู ค อื ร อ้ ย ล ะ ค า่ เ ฉ ล ยี ่ ส ว่ น เ บ ย่ ี ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ว เิ ค ร า ะ ห ก์ า ร ถ ด ถ อ ย พ ห คุ ณู (Multiple Regression)

The purposes of this study were to : 1) examine organizational health of schools, 2) examine factors affecting organizational health of the schools, and 3) construct predictive equations of organizational health of schools under the Office of Yasothon Educational Service Area. The sample consisted of 495 informants institutions administrators and teachers from 81 small-sized schools, 60 medium-sized schools, and 24 large- sized schools under the of Office of Yasothon Educational Service Area there obtained using the stratified random sampling technique. The informants could be classified into 165 purposively selected educational institutions administrators, and totally 330 teachers, obtained using the simple random samping technique comprising 162 teachers from small-sized schools, 120 teachers from medium-sized schools, and 48 teachers from large- sized schools. The instruments used for collecting data were a check-list survey and a rating-scale questionnaire which had been checked by experts for construct validity, content validity, appropriateness, clarity, and accuracy of the language usages. The instruments were tried out for their reliabilities and and then used for actual testing.

Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์