การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

อธิภัทร ถามะณีศรี
อรัญ ซุยกระเดื่อง
สมทรง สุวพานิช

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบ ฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่ กำหนด 80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึก เสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรียนที่ด้วยกิจกรรมการเรียน รู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะเรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้แบบ ฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแก้งขิงแคง ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2552 จำนวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 4 ชนิด ได้แก่ 1) แผนการพัฒนา กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะโจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 จำนวน 12 แผน 2) แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 6 ชุด 3) แบบทดสอบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ S. D. และ t – test (Dependent Samples)

ผลการวิจัยปรากฏดังนี้

1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหา เศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพที่ 86.84/85.61

2. นักเรียนที่ได้รับการพัฒนาด้วยการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบ ฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3. ดัชนีประสิทธิผลของการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้แบบฝึกเสริม ทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเท่ากับ 0.7266 แสดง ว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.67

4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้ แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้าน แก้งขิงแคง มีความ พึงพอใจมีค่าเฉลี่ย (\inline \dpi{80} \bar{X}) เท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับมากที่สุด และ ค่า S.D. เท่ากับ 0.67

 

Abstract

The objectives of the study were these 1) To develop co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 with the efficiency at 80/80 2) To study the efficient index of co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 students. 3) To compare the pre - post tests on mathematic problem solving of students taking co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 students and 4) To study students’ satisfaction toward co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 students. The 19 sample were Pratom Suksa 6 students who studied at Ban Khing Kang School during 2nd Semester, 2009 school year. The research tools used included 1) Twelve co-operative learning activities plans using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6. 2) Six skill training plements on fraction solving. 3) The mathematic ability multiple – choice tests on 30 fraction problems, and 4) A questionnaire set of students’ satisfaction toward development of co-operative learning activities on fraction of Pratom Suksa 6. The statistics used were percentage and t – test (Dependent Sample).

The study found the followings :

1. The development of co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 students developed by the author had the efficiency at 86.84/85.61.

2. The Pratom Suksa 6 students who took the co-operative learning activities using skill training supplement on fraction solving had the post – test scores significantly higher than the pre – test ones at .01 level.

3. The index of effectiveness of development of co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 students was 0.7266 indicating that the students’ knowledge (test scores) increased 72.67 percent.

4. The students’ average (\inline \dpi{80} \bar{X}) satisfaction toward development of co-operative learning activities using skill training supplement on fraction of Pratom Suksa 6 students at Ban Khing Kang School was 4.53, which was rated the highest, and the S.D. was 0.67.

Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์