กลยุทธ์การบริหารงานการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

Boontam Uankanya
Tanongsak Koomkhinam
Waro Phengsawat
Pornthep Satennapaklo

Abstract

The objective of this research were as follows: 1) to study the problem of effectiveness administration the internal quality assurance at the small school. 2) to study the guidelines of effectiveness administration the internal quality assurance at the small school, Under the office of basic education service area in the northeast. The purposive sampling were 12 people: 9 qualified persons and 12 case studies in school which who had processed of effectiveness administration the internal quality assurance. There were excellent scoring criteria who were selected by using purposive sampling. The instrument used in-depth interview and analyzed data by content analysis.


The results of this research were as follows: The problem of effectiveness administration the internal quality assurance school. Under the office basic education in the northeast. These categories were analyzed and related to 5 main aspects, namely: 1) Stakeholders not had participated experience. 2) Lack of personnel predication in the quality assurance system. 3) The personnel not used the results of the evaluation to improve and develop. 4) The problem of teacher and personnel, and 5) The problem of information. Guidelines of effectiveness administration the internal quality assurance school. These categories were analyzed and related to 5 main aspects, namely: 1) The promotion and participation for stakeholders 2) The promotion and participation for personnel. 3) Using the results of the evaluation to improve and develop. 4) Improvement of teachers and personals, and 5) Management of information.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กรรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
จันทร เพชรบูรณ์. (2556). กลยุทธการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 และ เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15(1), 70.
จิตต์วิมล คล้ายสุบรรณ. (2555). การพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 7(2), 65–70.
จำลอง บุญหล้า. (2550). การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 และ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
เฉลย คงปรีพันธุ์. (2555). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาคุรุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฏีบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ณปภัช บุญสมศรี. (2556). ความต้องการจำเป็นของการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและการบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
นวลลออ มีวิชา. (2558). สภาพ ปัญหาและผลสำเร็จการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
ปัทมา ต๊ะเรียน. (2555). การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านน้ำซำ (วชัยชนานุเคราะห์) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ปิยวัฒน์ ตันถา. (2559). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพในโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาในจังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
รัตตินันท์ ทวีสุขเสถียร. (2557). สภาพและปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนคูเมือง 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สุพินันท์ กันทะวงค์. (2559). ปรึกษาโครงการ School Online สำนักบริหารงานมัธยมศึกษาตอนปลาย. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2560, จาก https://www.obec.go.th/news/66268
สุมิตตา ชัยศิลป์. (2555). สภาพปัญหาการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2546). การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา: กรอบและแนวทางการดำเนินงาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานทดสอบทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
_______. (2553). แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
_______. (2554). เอกสารการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา: กรอบและแนวทางการดำเนินงาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.