วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jsbs
<p><strong>วัตถุประสงค์</strong></p> <p> วารสารบัณฑิตแสงโคมคำเป็นวารสารวิชาการ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานวิชาการ การศึกษาค้นคว้าและเผยแพร่บทความต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่วิทยาเขตพะเยาได้เปิดสอน คือ (1) พระพุทธศาสนาเเละปรัชญา (2) การสอนสังคมศึกษา (3) การสอนภาษาไทย เเละ (4) รัฐศาสตร์ 2) เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ ตลอดถึงการบูรณาการสหวิทยาการต่าง ๆ ของคณาจารย์ บุคลากร นิสิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานอื่น อันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม 3) เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา และสร้างความร่วมมือในการบูรณาการการเรียนการสอนกับการเผยแพร่ผลงาน องค์ความรู้ของคณาจารย์ บุคลากรและนิสิตในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย</p> <p> ทุกบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิแบบ Double-blind อย่างน้อย 3 ท่าน เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยรับพิจารณาต้นฉบับของบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กำหนดตีพิมพ์ปีละ 3 ฉบับ (ราย 4 เดือน)</p> <p> ทั้งนี้ ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น ผู้เขียนบทความต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความวิชาการหรือบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอย่างเคร่งครัด รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องตามหลักเกณฑ์ที่วารสารกำหนด</p> <p> ทัศนะและความคิดเห็นในบทความวารสารบัณฑิตแสงโคมคำ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ</p> <p> ในกรณีกองบรรณาธิการหรือผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้พิจารณากลั่นกรองบทความมีความเห็นว่า ควรแก้ไข กองบรรณาธิการจะส่งคืนเพื่อให้เจ้าของบทความแก้ไข โดยจะยึดถือข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิเป็นหลัก และขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่ตีพิมพ์ในกรณีที่บทความไม่ตรงกับวัตถุประสงค์และรูปแบบของวารสารบัณฑิตแสงโคมคำ หรือไม่ผ่านการพิจารณาของกองบรรณาธิการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ หากบทความใดได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิโดยเสียงข้างมากให้ตีพิมพ์ ผู้เขียนจะได้รับหนังสือรับรองการตีพิมพ์จากวารสาร (เฉพาะผู้เเจ้งความประสงค์เท่านั้น)</p> <p><strong>อัตราค่าตีพิมพ์บทความ </strong></p> <p> กำหนดค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ บทความละ 6,000 บาท</p> <p><strong>การชำระค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ </strong></p> <p> หลังจากผู้เขียนส่งบทความต้นฉบับและกรอกแบบฟอร์มเสนอผลงานเพื่อตีพิมพ์ (ใบสมัคร) เข้าระบบวารสารออนไลน์แล้ว กองบรรณาธิการจะแจ้งให้ผู้เขียนชำระค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ จำนวน 6,000 บาท/บทความ ตามรายละเอียด ดังนี้ </p> <p> <strong>ชื่อธนาคาร: ออมสิน สาขามหาวิทยาลัยพะเยา</strong></p> <p><strong> ชื่อบัญชี: วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ มจร.พะเยา</strong></p> <p><strong> บัญชีเลขที่: 020320117631</strong></p> <p> จากนั้น ให้ผู้เขียนแจ้งผลการโอนพร้อมหลักฐานการโอน โดยระบุชื่อผู้โอนและชื่อบทความ มาที่ Email: <a href="mailto:jsbsmcu@gmail.com">jsbsmcu@gmail.com</a> (หากประสงค์จะให้ออกใบเสร็จในนามหน่วยงานหรือองค์กรใด กรุณาระบุให้ชัดเจน)</p> <p> ***ทั้งนี้ ทางวารสารจะไม่คืนค่าธรรมเนียม ในกรณีที่บทความไม่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ เนื่องจากค่าธรรมเนียมได้นำไปเป็นค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว</p> <p> อนึ่ง ในกรณีบทความใด ถูกปฏิเสธโดยเสียงข้างมากของผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณากลั่นกรอง (2 ใน 3) วารสารจะยึดเสียงข้างมากของผู้ทรงคุณวุฒิในการปฏิเสธหรือยุติการดำเนินการตีพิมพ์บทความนั้นทันที ยกเว้นในกรณีต่อไปนี้ 1) ผู้เขียนยืนยันที่จะตีพิมพ์บทความนั้นอีกครั้ง 2) ผู้เขียนได้ปรับแก้บทความตามผู้ทรงคุณวุฒิ โดยเสียงข้างมากที่ปฏิเสธการตีพิมพ์นั้นแล้ว และ 3) กองบรรณาธิการเห็นสมควรให้บทความที่ปรับแก้ใหม่นั้นส่งประเมินอีกรอบได้ จากนั้น วารสารจึงจะดำเนินการต่อในขั้นตอนต่อไป โดยผู้เขียนต้องรับผิดชอบในการชำระค่าธรรมเนียมในส่วนของค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มเติม (2 ท่าน) ตามที่วารสารกำหนดค่าตอบแทนไว้</p> <p><strong>กำหนดออกเผยเเพร่</strong> </p> <p> ปีละ 3 ฉบับ</p> <p><strong> </strong>ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - เมษายน เผยแพร่ออนไลน์ไม่เกิน 30 เมษายน </p> <p> ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม เผยแพร่ออนไลน์ไม่เกิน 31 สิงหาคม </p> <p> ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม เผยแพร่ออนไลน์ไม่เกิน 31 ธันวาคม </p> <p> E-mail: jsbsmcu@gmail.com, Facebook Page: วารสารบัณฑิตเเสงโคมคำ </p> <p> Website: <a href="https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jsbs/index">https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jsbs/index</a></p> <p><strong>© เจ้าของ (Owner)</strong></p> <p>บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา 566 หมู่ 2 ถนนพหลโยธิน ตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000</p>
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา
th-TH
วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ
2651-1266
-
From Texts to Practices: The Development and Conservation Studies of Isan Silk in Pang Moddaeng Village, Phayao Province, Northern Thailand
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jsbs/article/view/261530
<p>This paper is a part of a larger study of Isan women's negotiating for benefits from both development and conservation regimes in Pang Moddaeng village, Ang Thong sub-district, Phayao province, Northern Thailand. Two primary objectives include: 1) to study and analyse the distinguishable ideas, concepts, and schools of thought in current literature of silk, clothing, and other woven materials, and 2) to understand how these schools of thought’s ideas and concepts have spread into Pang Moddaeng village as a case study. To achieve these two objectives, this qualitative research employs three kinds of methodology. Firstly, it is the textual analysis by studying on 25 articles. Secondly, it employs an ethno-methodological approach for conducting participant observation. Lastly, the research was conducted in-depth interview and focus group interview.</p> <p>The analysis of relevant literature discovered that there are three schools of thought that have led to the study of silk, garments, and other woven fabrics. Initially, it is the school of modernization, which is the mainstream of ideas for developing silk, clothing, and other woven materials to meet the needs of consumers and compete with the other woven fabrics in clothing market. Secondly, the anti-marketization school which is informed by the fundamental ideas of Marxism and political economics. This school of thought tried to counteract the first school of thought, which was concerned about the market undermining the essential value of silk, clothing, and other woven fabrics. Lastly, it is the conservation school of thought, which is influenced by localism and certain contributions from the second school of thought concerning the presence of essential values, and which could symbolize local wisdom, local knowledge, and local identity. Thus, this conservation school of thought has attempted to do research on the preservation of cultural items, which have those vital characteristics through preserving local silk, clothing, and other woven fabrics. While the latter was found that the numerous social actors in Pang Moddaeng, particularly the elderly and silk groups, were responsible for the structural production of these conceptions in the setting of the case study. It is vital to highlight that the communities have developed two distinct types of social units to cope with the two dominant ideas and concepts of Isan silk. As a result, on the one hand the village has run the silk group to manage with the silk production to follow the idea of modernization, while of the other hand the village has formed an elderly group to keep and create for the local knowledge/wisdom on Isan silk to follow the way to preserve Isan silk’s values.</p>
Pipat Tanakit
Copyright (c) 2024 วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2024-11-01
2024-11-01
9 3
448
472
-
Water Ontologies and Hydrosocial Perspective: New Approaches for Understanding Water Controversies of the Ing River Basin, Northern Thailand
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jsbs/article/view/267418
<p>This research illustrates, through a hydrosocial perspective, how political contestation between different networks of actors reflected the meanings, values, and water ontologies. This research employs ethnography to study networks of actors involved in controversies over the hydraulic infrastructure project in the Ing River Basin. The network of project proponents, including a state-led hydraulic institution, experts, and other actors, see Water as merely a natural resource for economic development. The proponents reduce water to its materiality and physical dimensions. Water is tied with the idea of development that values large-scale infrastructure, and top-down bureaucratic management embodied scientific knowledge in controlling water, mainly for economic purposes. Meanwhile, project opponents, including civil society organizations, environmental NGOs, and some communities understand water as living. Living water is produced through Thai Baan research, ecological campaigns and ceremonial practices that show rivers as sacred. Living water is socially, environmentally, and culturally embedded and more than a resource for exploitation. This paper argues that water-related conflicts in the Ing River Basin not only reflect how water is managed but are also rooted in such ontological differences. Different networks produced different versions of water. Therefore, understanding water ontologies through a hydrosocial lens could provide a new perspective on water-related conflicts and controversies.</p>
Thianchai Surimas
Copyright (c) 2024 วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2024-11-12
2024-11-12
9 3
473
494
-
การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา ในรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเชียงใหม่มัธยม อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jsbs/article/view/262400
<p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการวิเคราะห์ประเด็นประวัติศาสตร์ไทย วิชาประวัติศาสตร์ไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีสอนแบบโมเดลซิปปาให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องการวิเคราะห์ประเด็นประวัติศาสตร์ไทย วิชาประวัติศาสตร์ไทย โดยวิธีสอนแบบโมเดลซิปปา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเชียงใหม่มัธยม อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 44 คน โดยได้จากการเลือกแบบการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม และใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดียวทดสอบก่อนหลัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการวิเคราะห์ประเด็นประวัติศาสตร์ไทย 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการวิเคราะห์ประเด็นประวัติศาสตร์ไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการวิเคราะห์ประเด็นประวัติศาสตร์ไทย วิชาประวัติศาสตร์ไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีสอนแบบโมเดลซิปปาที่สร้างขึ้นมีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 80.10/80.80 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ 2) ผู้เรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบโมเดลซิปปา เรื่องการวิเคราะห์ประเด็นประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 องค์ความรู้จากการวิจัย คือ วิธีสอนแบบโมเดลซิปปาโดยใช้บทเรียนที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกับสภาพท้องถิ่นหรือสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เป็นกระบวนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิดและการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ สามารถสร้างความรู้ ค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีบทบาทมากในกิจกรรมการเรียนการสอน และผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้</p>
กานต์หทัย ฤทธิไตรภพ
อำนาจ จันทร์แป้น
วารุณี โพธาสินธุ์
Copyright (c) 2024 วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2024-11-22
2024-11-22
9 3
495
514