@article{โรหิตะสุข_2014, place={กรุงเทพฯ, ประเทศไทย}, title={สถานภาพของการประกวดศิลปกรรมในงานศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะไทย และต่างประเทศ STATUS OF ART COMPETITION IN THE STUDYING OF ART HISTORY IN THAILAND AND ABROAD}, volume={15}, url={https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/22162}, abstractNote={<p style="text-align: center;"><strong>บทคัดย่อ </strong></p><p>         การประกวดศิลปกรรมเป็นหัวข้อที่ถูกนำมาศึกษาในงานประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะร่วมสมัยทั้งในไทยและต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า การประกวดศิลปกรรมในต่างประเทศมักมีสถานภาพเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่อุดมการณ์ทางการเมืองของรัฐ ดังในกรณีการประกวดศิลปกรรมของเสรีรัฐไอริชในช่วงทศวรรษ 1920 หลังเป็นอิสระจากอาณานิคมอังกฤษ และการประกวดศิลปกรรมของพรรคนาซีเยอรมันในช่วง ค.ศ.1937 เป็นต้น สถานภาพเช่นนี้มีวัตถุประสงค์หลักให้ได้ผลงานศิลปกรรมที่เป็นภาพตัวแทนอุดมการณ์หรือนโยบายของรัฐเพื่อใช้สื่อสารกับประชาชน อย่างไรก็ตาม การศึกษาการประกวดศิลปกรรมเป็นการเฉพาะยังเป็นสิ่งที่ขาดแคลนในแวดวงประวัติศาสตร์ศิลปะ ทั้งนี้สถานภาพของการประกวดศิลปกรรมในงานประวัติศาสตร์ศิลปะของไทยส่วนใหญ่ยังเป็นการวิเคราะห์และอธิบายความเปลี่ยนแปลงอันเกิดมาจากกลุ่มบุคลากรในแวดวงศิลปะ การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติยังเป็นเวทีที่ถูกให้ความสำคัญมากที่สุด ในขณะที่การประกวดศิลปกรรมอื่นที่มีความสัมพันธ์กับการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมเช่นเดียวกันถูกละเลยต่อการศึกษาไป ข้อเสนอหลักของบทความนี้คือ การศึกษาการประกวดศิลปกรรมเป็นการเฉพาะและเชื่อมโยงการประกวดในฐานะที่มีความสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จะช่วยให้การประกวดศิลปกรรมมีสถานภาพสำคัญในการหาคำอธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ทั้งในทางศิลปะและทางสังคมได้</p><p><strong>คำสำคัญ :</strong> สถานภาพ , การประกวดศิลปกรรม , งานศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ</p><p style="text-align: center;"><strong>Abstract </strong></p><p>         Art competition is brought up in studying Modern Art History and Contemporary Art both in Thailand and abroad. The studying found that the status of art competition abroad is a state instrument of propagating political ideology which is witnessed from the art competition of Irish Free State during 1920 decade after it is liberated from the United Kingdom and art competition of Nazi Germany Party during A.D. 1937, etc. Such situation expressed main objective of applying work of art to represent ideology or policy of the State in order to communicate with the people. Nevertheless, the studying of art competition particularly is still inadequate for art history. In regard of Thailand, the status of art competition in term of Thai Art History is analysis and elucidation of its change affected by group of people in art circle. The National Exhibition of Art is still the place that is given the most importance to. Meanwhile, the studying on other art competitions related to politics, economics and society are overlooked. The main objective of this article is the studying of art competition in an exclusive way and its concern with the changing of politics, economics and society which enables art competition as important status to interpret the changing of history both in terms of arts and society.</p><p><strong>Keywords :</strong> Status , Art Competition , Study of Art History</p>}, number={2}, journal={วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ}, author={โรหิตะสุข สิทธิธรรม}, year={2014}, month={ต.ค.}, pages={119–128} }