@article{ธรรมกุล_เอมพันธ์_2022, title={ความก้าวหน้าของรัฐศาสตร์ไทยกับการเปลี่ยนแปลงของแต่ละยุค}, volume={5}, url={https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcr/article/view/254986}, abstractNote={<p>การศึกษาความก้าวหน้าของรัฐศาสตร์ในประเทศไทยมีการแบ่งเป็น 5 ช่วงเวลา คือ1) ก่อน พ.ศ.2475 ยุคเริ่มต้นการศึกษาทางรัฐศาสตร์ 2) พ.ศ.2475-2490 ยุคการเปลี่ยนแปลงการปกครอง <br>3) พ.ศ.2490-2519 ยุคเผด็จการอำนาจนิยม 4) พ.ศ.2520-2540 ยุคกึ่งประชาธิปไตย (ครึ่งใบ)และการปฏิรูปการเมืองแนวทางรัฐธรรมนูญ นิยม และ 5) พ.ศ.2541-2560 ยุคการเปลี่ยนแปลงตามแนวปฏิรูปประเทศ (แรงขับเคลื่อนตามกระแสสังคม) การศึกษาในแต่ละยุคนั้นส่งผลกระทบต่อเนื่องให้วิชาการทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในสังคมไทยขาดความก้าวหน้าทั้งในแง่การจัดระเบียบสถาบันวิชาการ มาตรฐานและบรรทัดฐานทางวิชาการ ความกระตือรือร้นของนักวิชาการและชุมชนวิชาการ ตลอดจนกิจกรรมหลักทางวิชาการซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การเรียนการสอน การิวิจัย และการบริการสังคมซึ่งเชื่อมโยงไปถึงการประยุกต์ใช้ให้เกิดผลประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมต่อสาธารณะหรือสังคมโดยส่วนรวม</p>}, number={ฉบับที่ 2}, journal={วารสารชัยภูมิปริทรรศน์}, author={ธรรมกุล พระกิตติศักดิ์ and เอมพันธ์ พระมหานรินทร์ สุรปญฺโญ}, year={2022}, month={ส.ค.}, pages={29–40} }