https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/issue/feed
วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
2024-12-20T10:23:07+07:00
Jintavat Sirirat
jsj@asia.tu.ac.th
Open Journal Systems
<p> <span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">วารสารด้านญี่ปุ่นศึกษาได้เริ่มจัดทำขึ้นในปี พ.ศ. </span><span style="font-size: 0.875rem;">2521 </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">โดยมูลนิธิญี่ปุ่น (</span><span style="font-size: 0.875rem;">Japan Foundation) </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">เป็นผู้สนับสนุนเพื่อส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการในกลุ่มคณาจารย์ที่สนใจด้านญี่ปุ่นศึกษา ในชื่อว่า "เอกสารวิชาการไทย-ญี่ปุ่นศึกษา" ต่อมาในปี พ.ศ. </span><span style="font-size: 0.875rem;">2527 </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">ได้มีการก่อตั้งศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา ผู้บริหารของศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาจึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น </span><span style="font-size: 0.875rem;">“</span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">วารสารไทย-ญี่ปุ่นศึกษา</span><span style="font-size: 0.875rem;">” </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">จนกระทั่งในปี พ.ศ. </span><span style="font-size: 0.875rem;">2539 </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">เปลี่ยนชื่อเป็น"วารสารญี่ปุ่นศึกษา" และในปี พ.ศ. </span><span style="font-size: 0.875rem;">2565 </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์" ในรูปแบบวารสารฉบับออนไลน์ </span><span style="font-size: 0.875rem;">ISSN 2821-9627 (Online) </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">ภายใต้การดำเนินการของสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา</span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;"> </span><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;">ฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</span></p> <p><span lang="TH" style="font-size: 0.875rem;"> นอกจากนี้ จากผลการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI รอบที่ 5 (รับรองคุณภาพวารสารเป็นเวลา 5 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2568-2572) <strong>วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์ได้รับการรับรองคุณภาพเป็นวารสารกลุ่มที่ 1 มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2568 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2572</strong></span></p> <div> <p><strong><span lang="TH">วัตถุประสงค์และขอบเขตเนื้อหาบทความ</span></strong></p> </div> <div> <p> <span lang="TH">วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นช่องทางเผยแพร่และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านญี่ปุ่นศึกษาแก่คณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ และนักศึกษา อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติในเชิงบูรณาการ โดยรับพิจารณาบทความด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ภาษา ปรัชญา วรรณกรรม ศิลปะ วัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง</span></p> </div> <div> <p><strong><span lang="TH">ประเภทบทความที่รับพิจารณา</span></strong></p> </div> <div> <p> - <span lang="TH">บทความวิจัย (</span>Research Article)</p> </div> <div> <p> - <span lang="TH">บทความวิชาการ (</span>Academic Article)</p> </div> <div> <p> - <span lang="TH">บทความรับเชิญ (</span>Invited Article)</p> </div> <div> <p> - <span lang="TH">บทวิจารณ์หนังสือ (</span>Book Review)</p> </div> <div> <p> - <span lang="TH">บทความสัมภาษณ์หรือรายงานการประชุมสัมมนา (</span>Interview Report or Seminar Report)</p> </div> <div> <p> <span lang="TH">ผู้นิพนธ์สามารถส่งบทความในรูปแบบภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือภาษาญี่ปุ่น ตามแนวทางการจัดทำบทความและการอ้างอิงของวารสาร ที่สำคัญบทความนั้นจะต้องไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน และไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น</span></p> </div> <div> <p><strong><span lang="TH">ช่วงเวลาเผยแพร่บทความ</span></strong></p> </div> <div> <p> <span lang="TH">วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์เป็นวารสารวิชาการราย </span>6 <span lang="TH">เดือน (ปีละ </span>2 <span lang="TH">ฉบับ) ได้แก่ ฉบับที่ </span>1 <span lang="TH">เดือนมกราคม-มิถุนายน และ ฉบับที่ </span>2 <span lang="TH">เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม</span> </p> </div> <div> <p><strong><span lang="TH">หลักเกณฑ์การพิจารณาบทความ</span></strong></p> </div> <div> <p> <span lang="TH">บทความวิจัย บทความวิชาการ และบทความรับเชิญจะได้รับการพิจารณาเบื้องต้นจากกองบรรณาธิการก่อนการประเมินจากผู้คุณวุฒิจากหลากหลายหน่วยงาน</span><span class="apple-converted-space"> </span><strong><span lang="TH">จำนวน </span>3 </strong><strong><span lang="TH">ท่าน</span></strong><span class="apple-converted-space"> </span><strong><span lang="TH">ในรูปแบบ</span> Double-blind peer review</strong><span class="apple-converted-space"> </span>(<span lang="TH">ผู้พิจารณาไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนไม่ทราบชื่อผู้พิจารณา) ส่วนงานวิชาการประเภทอื่นต้องผ่านกระบวนการพิจารณาจากบรรณาธิการวารสารก่อนตีพิมพ์</span> </p> </div> <div> <p><strong><span lang="TH">ค่าธรรมเนียมในการตีพิมพ์บทความ</span></strong></p> </div> <div> <p> <span lang="TH">วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์ไม่มีนโยบายเก็บค่าธรรมเนียมในการตีพิมพ์บทความ</span></p> </div> <div> <p> </p> </div> <div> <p> <span lang="TH">หมายเหตุ: วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์ เดิมชื่อวารสารญี่ปุ่นศึกษา ( </span>ISSN 2697-648X) <span lang="TH">โดย<strong>เริ่มใช้ชื่อ "วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์" (</strong></span><strong>Thammasat Journal of Japanese Studies) </strong><strong><span lang="TH">ตั้งแต่วารสารปีที่ </span>39 </strong><strong><span lang="TH">ฉบับที่ </span>1 (</strong><strong><span lang="TH">มกราคม - มิถุนายน </span>2565) </strong><strong><span lang="TH">เป็นต้นไป </span>ISSN 2821-9627 (Online)</strong></p> </div>
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/272047
A Failing Mission? Salvation in the Jesuit Mission in Japan Under Francisco Cabral
2024-07-10T15:32:23+07:00
Benjamin Ivry
ivrybenjamin@gmail.com
<p>This book examines how sixteenth century Japan rejected the political, societal, and cultural pressures of evangelization by Jesuit missionaries.</p> <p>A case study of the militant and militarized leadership of Francisco Cabral, SJ (1529 - 1609) a Portuguese Jesuit priest and missionary who arrived in Japan in 1570, indicates that some fellow Jesuits argued that a more conciliatory, flexible approach was needed to win over the Japanese public. Yet the Catholic church preferred the leadership of Cabral to these progressive views, even though his efforts would eventually fail.</p> <p>Details such as whether Jesuits in Japan should wear silk garments in imitation of Buddhist monks, to declare their identity to the public, were subjects of ardent debate.</p> <p>Likewise, the extent to which evangelizing Christians should learn the Japanese language, eat Japanese food, and follow other local customs, was a matter of disagreement amongst Jesuit superiors.</p> <p>Ultimately, the most estranged and despising view of Japan, Cabral’s, was allowed to dominate, with tragic results for Christianity in Japan over the next decades, when martyrdoms and other violence occurred.</p>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/268111
ปัญหาการรับรู้เสียงลิ้นกระทบ /r/ ในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย
2024-04-11T16:18:43+07:00
ยุพกา กุชิม่า
fhumykf@ku.ac.th
อัครพงศ์ เคหะนันท์
kunikida_shuu@hotmail.com
<p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาของผู้เรียนชาวไทยในด้านการฟังเสียงลิ้นกระทบ 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการสอบวัดระดับกับความแม่นยำในการฟังเสียงลิ้นกระทบ และ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การเรียนวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นกับความแม่นยำในการฟังเสียงลิ้นกระทบ กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 ในหลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษ จำนวน 120 คน โดยใช้แบบทดสอบการฟังจำนวน 20 ข้อ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้เรียนชาวไทยฟังเสียง /ra/ เป็นเสียง /da/ มากที่สุด เมื่อเสียง /ra/ อยู่ในตำแหน่งต้นคำ-หน้าเสียงพยัญชนะไม่ก้อง /k/ และฟังเสียง /re/ เป็นเสียง /de/ มากที่สุดเมื่อเสียง /re/ อยู่ในตำแหน่งไม่ต้นคำ-หลังเสียงพยัญชนะก้อง /d/ 2) ความแม่นยำในการฟังเสียงลิ้นกระทบระหว่างผู้เรียนที่มีผลการสอบ JLPT ระดับที่ต่างกัน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 3) ผู้เรียนที่มีประสบการณ์เรียนวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น มีความแม่นยำในการฟังเสียงลิ้นกระทบมากกว่าผู้เรียนที่ไม่มีประสบการณ์เรียนวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นอย่างมีนัยสำคัญ โดยพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความสับสนระหว่างเสียง /d/ และเสียง /r/ ในสัดส่วนที่มากที่สุด</p>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/268210
地球温暖化防止啓発広告に見られるキャラクターのネーミング −言語的分析と分類−
2024-05-08T12:36:49+07:00
後藤 寛樹
hghgoto@gmail.com
セナ クワンチラー
k_sena@hotmail.com
<div class="page" title="Page 3"> <div class="layoutArea"> <div class="column"> <p>2000年代後半のゆるキャラブーム以降、日本では自治体の多くが独自のご当地キャラを有し、地元のPRや種々の啓発広告等にそれらのキャラクターが用いられている。本研究では、日本の自治体が作成している地球温暖化防止の啓発広告に登場する358のキャラクター(自治体のPRを主目的とした「PRキャラ」154、地球温暖化防止の啓発を主目的とした「啓発キャラ」194)を対象にして、そのネーミングを意味、語形成・語構成、音象徴の3つの観点から分析・記述した。</p> <p> 意味的な分析では、PRキャラの90%以上がその自治体と結びつくものを、啓発キャラの70%以上が温暖化防止想起語をもとにして名付けられており、それぞれのキャラクターの役割がネーミングにも反映していることが観察された。</p> <p> 語形成・語構成的な分析では、PRキャラの約60%の名前が語基全体または一部をもとにしたものであるのに対し、啓発キャラは語基全体、語基一部の割合はやや少なくなり、複合語および複合語の短縮が約40%を占めていた。また、語基に対して音声的加工があるかどうかについては、加工がある名前は全体の20%程度にとどまっていた。よく用いられている加工は、長音化、促音挿入、撥音挿入であった。名前が接尾辞をともなうかどうかについては、自治体名や地元想起語を語基とする名前および温暖化防止想起語を語基とする名前の75%以上が接頭辞をともなっているのに対し、複合語等については接尾辞をともなわない名前が80%を超えていた。</p> <p> 音象徴的な分析では、「強い系」のイメージをもつキャラクターの名前には「かわいい系」やその他のイメージのキャラクターと比べて濁音が含まれやすいこと、語頭拍が阻害音で始まりやすいことが観察された。また、語末拍は全体として共鳴音で終わる名前が多かったが、「強い系」のキャラクターの名前は阻害音で終わる割合が他のタイプよりも高かった。 </p> </div> </div> </div>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/268205
漢字の学習意識に関するタイ人日本語学習者とタイ人日本語教師の傾向と対照
2024-03-27T17:20:50+07:00
橋本 功
hashimoto_isa@utcc.ac.th
<p>タイ人日本語学習者が抱く漢字の学習意識は多岐に渡ることが先行研究から明らかになっている。しかしながら、タイ人日本語教師が賛同する漢字の学習意識に対する研究はほとんど行われていないのが実情であることから、タイ人日本語学習者が抱く漢字の学習意識とタイ人日本語教師が賛同する漢字の学習意識とを対照することは意義があると考えた。そこで、タイ人日本語学習者129名とタイ人日本語教師35名を対象に質問紙調査を実施し、統計学を基に対照分析を行った。その結果と考察は以下の通りである。</p> <ul> <li>タイ人日本語学習者と比較して、タイ人日本語教師のほうが漢字学習に関する意識がより肯定的なものであった。また、タイ人日本語教師のほうが、目的を持って漢字学習に臨む姿勢及び漢字学習と日本文化との結びつきが重要と捉える傾向が見られた。</li> <li>中高年のタイ人日本語教師と比較して、若手のタイ人日本語教師のほうが「漢字の読み」を重視する傾向が高かった。換言すれば、中高年のタイ人日本語教師のほうが「漢字の書き」を重視する傾向が相対的に高いことが示唆された。</li> <li>タイ人日本語学習者は、間違えそうな場合「漢字使用の回避」をする傾向が見られた。</li> </ul> <p> 今後の漢字教育への提案として、「漢字の読み」といった視覚情報を重視する現状及び時代の趨勢を鑑みて、教室活動におけるICTの積極的な活用を取り上げたい。</p>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/268700
กลวิธีการประพันธ์ท์ซุอิกุกับสิ่งตรงข้ามกันในวรรณกรรม โฮโจกิ
2024-03-13T08:50:09+07:00
อรรถยา สุวรรณระดา
attayac@gmail.com
<p><em>โฮโจกิ</em> (方丈記)เป็นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่นเขียนขึ้นในปี ค.ศ. 1212 โดย คะโมะ โนะ โชเมะอิ(鴨長明)ครึ่งแรกของผลงานชิ้นนี้ชี้ให้เห็นความเป็นอนิจจังไม่เที่ยงของชีวิตผ่านการบรรยายเหตุการณ์ภัยพิบัติต่าง ๆ เช่น เหตุการณ์ไฟไหม้ พายุหมุน ความอดอยาก และแผ่นดินไหว ส่วนครึ่งหลังบรรยายถึงความสงบสุขของชีวิตการบวชและการใช้ชีวิตอย่างสันโดษ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อผ่านการใช้กลวิธีการประพันธ์ท์ซุอิกุมากล่าวโยงสิ่งตรงข้ามกันในวรรณกรรม <em>โฮโจกิ</em> กลวิธีการประพันธ์ท์ซุอิกุเป็นการกล่าวถึงของสองสิ่งโดยนำเอามาจัดเรียงรูปประโยคซ้อนคล้ายกัน ทำให้เกิดจังหวะเสียงที่ไพเราะ และในด้านความหมายยังเป็นการขับเน้นหรือเปรียบเทียบของสองสิ่งที่ถูกหยิบยกมากล่าวถึงนั้นด้วย จากการศึกษาพบว่า การที่ผู้เขียนมักหยิบยกเอาสองสิ่งที่ตรงข้ามกันมากล่าวโยงกันด้วยท์ซุอิกุนั้น เป็นกลวิธีอย่างหนึ่งในการช่วยขับเน้นให้เห็นสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อในเรื่อง ซึ่งก็คือภาพของความทุกข์ยากลำบากในการใช้ชีวิตบนโลกใบนี้ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการโยงไปสู่สิ่งที่ผู้เขียนต้องการเสนอแนะ ในช่วงท้ายเรื่องเกี่ยวกับแนวทางการใช้ชีวิตที่จะช่วยให้สามารถหลีกหนีความทุกข์ยากลำบากเหล่านั้นซึ่งก็คือการปลีกตัวหันมาใช้ชีวิตอย่างสันโดษเช่นเดียวกับตัวผู้เขียนนั่นเอง</p>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/270438
タイ人日本語通訳者の異文化能力と異文化間コミュニケーション能力についての考察
2024-06-02T16:14:09+07:00
ケーオキッサダン パッチャラポーン
patcharaporn.k@arts.tu.ac.th
<p>本研究は異文化能力・異文化間コミュニケーション能力に着目し,タイ人日本語通訳者の異文化に対する理解及び異文化間コミュニケーション能力を明らかにすることを目指すものである。研究方法は定性調査の分析である。一般企業,サービス業,医療現場で働くタイ人日本語通訳者を対象にデプスインタビューを行い,インタビュー調査から得られたデータの分析及び考察を行った。調査に協力した30名のタイ人日本語通訳者の平均年齢は36歳,平均通訳経験は10年で<br />あり,日本語能力はJLPT N2レベル以上である。</p> <p> 自己評価の調査の結果,タイ人日本語通訳者は自己の異文化能力・異文化間コミュニケーション能力に関して「良い」と評価していることが明らかになった。インタビュー調査の結果,1) 知識の面では,社会規範,文化,言語及びコミュニケーション形式,言語と社会文化の関係に関する知識を持つこと,2)態度の面では,自己の文化に固執しない,異文化の理解と受け入れに努める姿勢が見られること,3)スキルの面では,自己の文化を他の文化と関連付ける能力,知識,態度,及びスキルを持ち,出来事を説明したり,即応性のあるコミュニケーションをしたりすることができること,また,自己及び他者の文化的価値を客観的・批判的に評価し判断できることがわかった。</p> <p> 本研究の結果は異文化に関する知識,文化的意識の向上を促進し,異文化間コミュニケーション教育,通訳教育の発展への一助となるだろう。</p>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/270660
タイの大学院生の論文執筆上の困難点と課題 −研究支援に必要な視点を求めて−
2024-06-25T15:30:26+07:00
村岡貴子
tmuraoka@ciee.osaka-u.ac.jp
ナラノーン ソイスダー
soysudan@gmail.com
<p>本稿の目的は、探索的で質的な調査からタイの大学院生の論文執筆上の困難点と課題を明らかにし、研究支援に必要な視点を提示することである。調査は、タイ語か英語で論文を執筆する3名の大学院生・元大学院生に半構造化インタビューを行い、SCATを援用して質的分析を行った。その結果、3名は、執筆言語は異なるが、調査方法の選択や、論理的な文章作成と推敲作業の難しさを指摘し、困難が続く経験を語るとともに、教員によるセミナーや他者との協働作業を高く評価した。以上から、研究支援では、他者との協働も生かした論文の修正を繰り返しながら経験の蓄積を促すとともに、研究の位置づけや考察の深化と言語化、特に論理の精緻化を着実に促すことの重要性が示された。</p>
2024-12-20T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 วารสารญี่ปุ่นศึกษาธรรมศาสตร์