TY - JOUR AU - ตลึงจิตร, มณฑกานต์ AU - ใจมั่น, ประกอบ AU - ธรรมชาติ, สืบพงศ์ PY - 2019/12/18 Y2 - 2024/03/29 TI - รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น JF - วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ JA - J EDU TSU VL - 19 IS - 2 SE - DO - UR - https://so02.tci-thaijo.org/index.php/eduthu/article/view/204896 SP - 166-174 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p><strong>&nbsp;</strong></p><p>วัตถุประสงค์การวิจัยนี้ ประกอบด้วย 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ 2) เพื่อประเมินทักษะการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ 3) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้&nbsp; ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จำนวน 32 คน ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากการวิเคราะห์องค์ประกอบและขั้นตอนของ พบว่า &nbsp;มี 6 องค์ประกอบ ดังนี้ คือ 1) ทฤษฏี หลักการ แนวคิดของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) เนื้อหา 4) ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) เทคนิควิธีการสอน 6) การวัดและประเมินผล&nbsp; ผลการวิเคราะห์ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น HAPPY &nbsp;MODEL มี 5 ขั้นตอน&nbsp; คือ&nbsp; ขั้นที่ 1&nbsp; ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน(Heavenly Stage)&nbsp; ขั้นที่2&nbsp; ขั้นเรียนรู้ (ActiveLearning Stage) 3. ขั้นฝึก (Practice Stage) 4. ขั้นการจัดการความรู้และประมวลผล (Processing Stage) 5. ขั้นนำไปประยุกต์ใช้ด้วยตัวเอง (Yourself application Stage) &nbsp;ผลการประเมินการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปรากฎว่า&nbsp; ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญที่ .05 &nbsp;และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญที่ .05 ประสิทธิผลของรูปแบบบการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอยู่ในระดับมาก&nbsp; ครูผู้สอน ผู้บริหาร และผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นต่อ รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่พัฒนาขึ้นโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก</p> ER -