@article{ทิพยวาศรี_กระโหมวงศ์_อินทนิน_2016, title={การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการทำขนมประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบของจังหวัดสงขลา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1}, volume={15}, url={https://so02.tci-thaijo.org/index.php/eduthu/article/view/46167}, abstractNote={<p class="a">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน  2)สร้างและตรวจสอบคุณภาพ 3) ทดลองใช้ เพื่อหาประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของหลักสูตรท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ   และเทคโนโลยี เรื่องการทำขนมประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบของจังหวัดสงขลา สำหรับนักเรียน  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แนวคำถามสำหรับการสนทนากลุ่ม,  แบบประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร,   แบบประเมินความสอดคล้องของหลักสูตร,   เอกสารหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร,  แบบประเมินทักษะการปฏิบัติ,   แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ,  แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน และแบบประเมินความคิดเห็นของครูผู้สอนและวิทยากรท้องถิ่น โดยมีขั้นตอนดำเนินการ 3 ขั้นตอน ดังนี้</p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสนทนากลุ่มคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน วิทยากรท้องถิ่น ครูผู้สอน ศึกษานิเทศก์ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  </span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">ผลการศึกษาได้เนื้อหาที่นำมาจัดทำหลักสูตรเกี่ยวกับการขนมประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบ ประกอบด้วย ความสำคัญ ความเป็นมา ความมุ่งหมาย วิถีปฏิบัติและพิธีกรรมในประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบ ขนมเดือนสิบ อุปกรณ์การทำขนมเดือนสิบ และการจัดนิทรรศการ</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">ขั้นตอนที่ 2 สร้างและตรวจสอบคุณภาพโครงร่างของหลักสูตร นำผลการศึกษามากำหนดเป็นรายละเอียดต่าง ๆ</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">หลักสูตรฉบับร่าง ประกอบด้วย หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้างเนื้อหา  เวลาเรียน  กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรที่พัฒนาขึ้น มีโครงสร้างเนื้อหา 4 หน่วย  8 แผน จัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะกระบวนการ 9 ขั้น ได้แก่ 1) ขั้นตระหนักในปัญหาและความจำเป็น 2) ขั้นคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ 3) ขั้นสร้างทางเลือกอย่างหลากหลาย 4) ขั้นประเมินและเลือกทางเลือก 5) ขั้นกำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ </span><span style="font-size: 10px;">6) ขั้นปฏิบัติด้วยความชื่นชม 7) ขั้นประเมินผลระหว่างปฏิบัติ 8) ขั้นปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่เสมอ และ 9) ขั้นประเมินความภาคภูมิใจ ใช้ระยะเวลารวมทั้งสิ้น  20 ชั่วโมง ผลการประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า  ทุกองค์ประกอบของหลักสูตรเหมาะสม และสอดคล้องกัน จากนั้นนำข้อเสนอแนะจากการประเมินหลักสูตรฉบับร่างมาปรับปรุง เพื่อให้หลักสูตรมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">ขั้นตอนที่ 3 นำหลักสูตรไปทดลองใช้ แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">ระยะที่ 1 การศึกษานำร่อง โดยการนำหลักสูตรที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดเนินพิชัย อำเภอบางกล่ำ  จังหวัดสงขลา จำนวน 19 คน พบว่า</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">หลักสูตรมีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.86/86.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 หลังการทดลองใช้ได้มีการปรับปรุงหลักสูตร โดยการปรับปรุงเนื้อหาให้กระชับ วางแผนเรื่องเวลาในการทำกิจกรรมแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4-7  กับ ครูผู้สอน และปรับปรุงภาษาที่ใช้ให้ถูกต้อง</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">ระยะที่ 2 นำหลักสูตรไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำนวน 24 คน พบว่า</span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;">หลักสูตรประสิทธิภาพเท่ากับ 94.44/84.66 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 ความรู้ความเข้าใจหลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนในหลักสูตร พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก  (<img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\inline&space;\dpi{80}&space;\bar{X}" alt="\inline \dpi{80} \bar{X}" align="absmiddle" />= 4.45)  และ ผลการประเมินความคิดเห็นของครูผู้สอนและวิทยากรท้องถิ่น พบว่า  มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (<img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\inline&space;\dpi{80}&space;\bar{X}" alt="\inline \dpi{80} \bar{X}" align="absmiddle" />= 4.49) เช่นกัน </span></p><p class="a"><span style="font-size: 10px;"><br /></span></p><p class="a"><strong><span style="font-size: 10px;">Local Curriculum Development of the Occupation and Technology Learning Area on Thai Traditional Desserts of the Tenth Month Festival for Matthayomsueksa 1 Students in Songkhla Province</span></strong></p><p style="text-align: left;" align="center"><em><span style="text-decoration: underline;">Nudthaweeporn Tippayawasr</span> <sup>1*</sup>   Rewadi Krahomvong <sup>2</sup>  Wallaya Thamaphiban Inthanin</em><sup><em>3</em></sup></p><p>This research aim to 1)analysis of  basic data base 2)construction and quality inspection 3)trial efficiency and effectiveness of the local Curriculum Occupation and Technology Learning Area on Thai Traditional Desserts of the Tenth Month Festival for Matthayomsueksa 1 Students in Songkhla Province . Data were collected using the question for group discussion, Evaluation of the suitability of the curriculum,  Evaluation of the consistency of the curriculum, Documents and documentation course curriculum, Cooperative learning practice, A test of understanding, Evaluation of the satisfaction of students and the evaluation opinions of teachers and experts on local wisdom  by step taken 3 steps are as follows.</p><p>Stage 1. An analysis of basic data was conducted through documentary study and related research, focus group discussions with members of school boards, experts on local wisdom, teachers, educational supervisors and Mathayomsueksa 1 students. </p><p>The outcome of the study was the contents for making the curriculum for making traditional desserts of the tenth moth festival consisting of significance, objectives, practices and rites for making merits on the occasion of Sart merit-making day in the tenth lunar month, the desserts, equipment for making desserts and setting up the exhibition.</p><p>Stage 2. The second stage involved the construction and quality validation of the curriculum. </p><p>The outcome of the study was defined with details of the draft curriculum.  This stage consisted of the principles, objectives, content structure, course hours, learning activities, teaching media and learning resources, measurement and evaluation method, course description, and learning units.  The developed curriculum consisted of 4 content structures, 8 learning management plans and 9 skill-process learning management: 1) problem and requirement awareness, 2) thinking, analyzing, and critique, 3) creating diverse alternatives, 4) evaluating and selective alternatives, 5) defining and ordering of practices, 6) performing with admiration, 7) evaluating  during performing, 8) continuous improving, and 9) evaluating with pride.  Time required for the whole processes was 20 hours.  The evaluation outcome of appropriateness and coherency of the developed curriculum by experts and specialists reveals that all aspects of the curriculum are appropriate and coherent.  The outcome of the draft curriculum was further improved to make it more appropriate. </p><p>Stage 3.  The third stage dealt with the implementation of the curriculum, which was further sub-divided into two phases. </p><p>In phase 1, which was a pilot study, the constructed curriculum was tried out with 19 Mathayomsueksa 1 students at Wat Noen Phichai School, Bangklam District, Songkhla Province. </p><p>It is found that the curriculum showed the 90.86/86.21 effectiveness. Which was significantly higher than that placed 80/80. After the trial, the curriculum was further improved to make the content more concise.  Planning on time usage was made with teachers for activities organized for Unit 4-7.  Moreover, language description was edited for correct usage. </p><p>In phase 2, the constructed curriculum was tried out with 24 Mathayomsueksa 1 students at Ban Nam Noi Community School, Hatyai District, Songkhla Province.</p><p style="text-align: left;" align="center"><sup>It was found that the curriculum showed the 94.44/84.66 effectiveness. Which was significantly higher than that placed 80/80. The knowledge and understanding of the students was higher than before taking the course with a higher mean score of students’ understanding of the content after the curriculum implementation at the .05 significant level. Overall, the students’ satisfaction with the curriculum revealed at a ‘high’ level of mean score (<img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\inline&space;\dpi{80}&space;\bar{X}" alt="\inline \dpi{80} \bar{X}" align="absmiddle" />= 4.45).  Similarly, overall, the evaluation of the teachers and local wisdom was found to be also at ‘high’ level (<img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\inline&space;\dpi{80}&space;\bar{X}" alt="\inline \dpi{80} \bar{X}" align="absmiddle" />= 4.49).  <br /></sup></p>}, number={1}, journal={วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ}, author={ทิพยวาศรี ณัฏฐวีภรณ์ and กระโหมวงศ์ เรวดี and อินทนิน วัลลยา ธรรมอภิบาล}, year={2016}, month={ม.ค.}, pages={28–41} }