สมรรถนะดิจิทัล: สมรรถนะใหม่สำหรับครูยุคปัจจุบัน
คำสำคัญ:
สมรรถนะดิจิทัลของครู, การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล, ครูในยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
ความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของครูในยุคดิจิทัลไม่ใช่เพียงความสามารถในการใช้สื่อ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนรู้ แต่ครูในยุคนี้จำเป็นต้องมีสมรรถนะดิจิทัล ซึ่งหมายถึงชุดของทักษะหรือแหล่งรวมทักษะที่มีการผสมผสานระหว่าง ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเพื่อใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์ เหมาะสม ปลอดภัย และมีจริยธรรม อย่างไรก็ตามยังไม่มีการกำหนดกรอบสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูไทยอย่างชัดเจน ซึ่งแตกต่างจากประเทศในกลุ่มยุโรปและสหรัฐอเมริกา ดังนั้นบทความนี้จึงขอนำเสนอองค์ประกอบของสมรรถนะดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้สำหรับครูที่ได้จากการศึกษากรอบแนวคิดของต่างประเทศซึ่งประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมวิชาชีพ 2.การสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ 3.การจัดการทรัพยากรดิจิทัลทางการศึกษา 4.การวัดประเมินผล 5.การสอนและการเรียนรู้ 6.การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียน และ 7.จริยธรรมและความปลอดภัย
Downloads
References
กณิชชา ศิริศักดิ์. (2559). การวิจัยหลักสูตรวิชาชีพครูเพื่อพัฒนาแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัล. (วิทยานิพนธ์
ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ธรรมสันต์ สุวรรณโรจน์, พรรณี ลีกิจวัฒนะ, อรรวรรณ แซ่อึ่ง และ อภิศันย์ ศิริพันธ์. (2563). สมรรถนะดิจิทัลที่
จำเป็นสำหรับนักศึกษาระดับปริญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย: การวิเคราะห์เอกสารวิชาการ.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 12(2), 88-106.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. (2564). นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.
-2565. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2564, https://moe360.blog/2021/06/30/education-
management-policy.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). สพฐ. ร่วมประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้ง
ที่ 4/2564. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2564, https://www.obec.go.th/archives/428922
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2561).
กรอบสมรรถนะด้านดิจิทัลสำหรับพลเมืองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
อนุศร หงษ์ขุนทด. (2564). ระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency : DC) สำหรับครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2564, จาก http://krukob.com/web/qqq.
Falloon, G. (2020). From digital literacy to digital competence: the teacher digital competency
(TDC) framework. Education Tech Research. 68, 2449–2472. doi: 10.1007/s11423-020-
-4
Geir, O., Marijana, K., Gréta, G. (2014). Professional Digital Competence in Teacher Education,
Nordic Journal of Digital Literacy, 9(4), 243–249.
Ilomäki, L., Kantosalo, A., & Lakkala, M. (2011). What is digital competence? In Linked portal.
Brussels: European Schoolnet. http://linked.eun.org/web/guest/in-depth3
INTEF. (2017). Common Digital Competence Framework for Teachers – September 2017.
José, M., Marta, M., José, F., and Inmaculada, G. (2020). Digital competences for teacher
professional development Systematic review, European Journal of Teacher Education, doi:
1080/02619768.2020.1827389
Krumsvik, R. (2014). Teacher educators' digital competence, Scandinavian Journal of Educational
Research, 58(3), 269-280, doi: 10.1080/00313831.2012.726273
Louise, S., and Anne, Y. (2021). Do digital competence frameworks align with preparing
beginning teachers for digitally infused contexts? An evaluation from a New Zealand
perspective, European Journal of Teacher Education, doi: 10.1080/02619768.2021.1975109
Marijana, K., Karianne, H. and Ann-Thérèse, A. (2017). The Norwegian Centre for ICT in Education.
Norway: provisions of the Norwegian Intellectual Property Rights Act.
Maria, S., Sylvana, H., Mona, L., and Anne, A. (2018). Digital competence and digital literacy in
higher education research: Systematic review of concept use, Cogent Education, doi:
1080/2331186X.2018.1519143
Oliver, M., Louise Mifsud and Juan Carlos Colomer Rubio. (2021). Digital competence in teacher
education: comparing national policies in Norway, Ireland and Spain, Learning, Media and
Technology, 46(4), 483-97. doi: 10.1080/17439884.2021.1913182
Redecker, C. (2017). European Framework for the Digital Competence of Educators: DigCompEdu.
Publications Office of the European Union, Luxembourg.
The United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2018). UNESCO ICT
Competency Framework for Teachers. place de Fontenoy, 75352 Paris 07 SP, France.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ในกรณีที่กองบรรณาธิการ หรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้ตรวจบทความวิจัย หรือ บทความทางวิชาการมีความเห็นว่าควรแก้ไขความบกพร่อง ทางกองบรรณาธิการจะส่งต้นฉบับให้ ผู้เขียนพิจารณาจัดการแก้ไขให้เหมาะสมก่อนที่จะลงพิมพ์ ทั้งนี้ กองบรรณาธิการจะยึดถือความคิด เห็นของผู้เชี่ยวชาญเป็นเกณฑ์