ความแตกต่างระหว่างวัยกับความพึงพอใจต่อการซื้อสินค้าแบรนด์เนมของผู้บริโภคในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1พบว่าผู้ซื้อสินค้าแบรนด์เนมที่มีอายุระหว่าง 53 ปี -71 ปี จะมีความพึงพอใจต่อการซื้อสินค้าแบรนด์เนมสูงสุด และ วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลความพึงพอใจในการซื้อสินค้าแบรนด์เนม ในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ประกอบด้วย ผู้มีอิทธิพลทางสื่อ ความคาดหวัง ภาพลักษณ์ และมุมมองคุณค่า
งานวิจัยนี้จะช่วยให้ผู้บริหารวางแผนจัดการเกี่ยวกับการบริหารการตลาดในสินค้าประเภทแบรนด์เนมได้อย่างมีประสิทธิภาพและตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่มีผลต่อการซื้อสินค้าแบรนด์เนมและลดค่าใช้จ่ายในการวางแผนการจ้างงานผู้มีอิทธิพลทางสื่อให้ตรงตามกับกลุ่มเป้าหมายที่วางเอาไว้ได้ และยังทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีและการบอกต่อในสังคมออนไลน์ของผู้บริโภค
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คนางค์ เชษฐบุตร. (2550).ความคาดหวังของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต่อบทบาทของบรรณารักษ์ในการส่งเสริมการรู้ สารสนเทศ. (รายงานการศึกษาแบบอิสระปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชลธิชัย ยอดมูลดี. (2550). ศึกษาความคาดหวังและสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับคุณภาพการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผู้ปกครองนักเรียน ในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1. (การศึกษาอิสระปริญญาโท). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
พิชัย นิรมานสกุล. (2554). พฤติกรรมการท่องเที่ยว การเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ ภาพลักษณ์ และการยอมรับคุณค่าแบรนด์เมืองท่องเที่ยวไทย คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย: กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.
พัฒนา พรหมณียุพิน พิทยาวัฒนชัย และจีระศักดิ์ ทัพผา. (2563). แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ และการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน.วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษา เอกชนแห่งประเทศไทย., (สสอท.). 26(1), 59-66.
ธนาคารกสิกรไทย. (8 ธันวาคม 2564). เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค ปี 2022 พร้อมเปิดอินไซต์แต่ละ generation ที่ธุรกิจต้องรู้และปรับตัวให้ทัน. จาก https://www.kasikornbank.com/th/personal/the-wisdom/articles/Pages/Business-Empowerment_Onward60_2021.aspx
Brown, D., & Hayes, N. (2008). Influencer marketing. Routledge. (1st Edition). Elsevier Ltd.
C. Nguyen, T. Nguyen, and V. Luu. (2022). Relationship between influencer marketing and purchase intention: focusing on Vietnamese gen Z consumers. Indep. J. Manag. Prod., 13(2), 810 – 828.
Fornell, C.F., Johnson, M.D., Anderson, E.W., Cha, J., & Bryant, B.E. (1996). The American Customer Satisfaction Index: Nature, Purpose, and Findings. Journal of Marketing, 60 (October), 7-18.
Harry R. Moody & Sanjay Sood. (2010). THE AGING CONSUMER (1st Edition). Routledge.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service qualityand its implications for future research. Journal of Marketing, 49, 41-50.
Byrne, E., Kearney, J., & MacEvilly, C. (2017). The role of influencer marketing and social influencers in public health. Proceedings of the Nutrition Society, 76. https://doi.org/10.1017/S0029665117001768
Li, F., & Du, T. C. (2011). Who is talking? An ontology-based opinion leader identification framework for word-of-mouth marketing in online social blogs. Decision support systems, 51(1), 190-197.