การศึกษาแนวทางการดำเนินงานของภาครัฐในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย

Main Article Content

ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์
ศิริวรรณ ชอบธรรมสกุล

บทคัดย่อ

ในปี พ.ศ. 2564 ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบ โดยมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุประมาณร้อยละ 20 ซึ่งโครงสร้างประชากรที่มีผู้สูงอายุในระดับดังกล่าว ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสาธารณสุขของประเทศ จากการศึกษาระเบียบ กฎหมายนโยบายที่เกี่ยวข้องของภาครัฐ พบว่า ภาครัฐได้มีแนวทางในการดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุภายใต้กรอบแนวคิดการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุทั้งหมด 5 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านกายภาพ โดยเน้นการบริการและการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) ด้านจิตวิทยา สร้างการตระหนักรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
(3) ด้านสังคม มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ (4) ด้านเศรษฐกิจ สร้างหลักประกันด้านรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ และ (5) คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุด้านสิ่งแวดล้อม โดยการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมแก่การดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการแพทย์. (2566). ข้อมูลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ. สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก http://agingthai.dms.go.th/agingthai/knowledge/aging-law/aging-law-table/

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2566). แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุระยะที่ 3 (พ.ศ.2566-2580). สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก https://www.dop.go.th/download/laws/th1653553501-843_0.pdf

กัลยาณี ทองสว่าง. (2546). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเคหะชุมชนออเงิน (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2558). การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข, 1(2), 149-163.

ณัฐภัทร ถวัลยโพธิ และคณะ. (2557). การศึกษาวิเคราะห์และยกร่างกฎหมายลำดับรองเพื่อรองรับอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการใช้งบประมาณเพื่อจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ (รายงานการวิจัย). มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

บังอร ธรรมศิริ. (2549). ครอบครัวกับการดูแลผู้สูงอายุ. วารสารการเวก ฉบับนิทรรศการวันเจ้าฟ้าวิชาการ, 3(7), 47-56.

พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ 2546. (2546, ธันวาคม 22). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 120 (ตอนที่ 1), หน้า 1.

เพ็ญณี กันตะวงษ์ แนรอท และ ณรงค์ เกียรติคุณวงศ์. (2562). การดูแลผู้สูงอายุ บทเรียนจากเมืองโกเบ. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น: วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2566). เปิดสถานการณ์ “สูงวัย” ในอาเซียน พบผู้สูงอายุมีจำนวนร้อยละ 11 ของประชากรทั้งหมด. สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก https://thai tgri.org/?p=39807

วัชราภรณ์ ศรีนุช และวรวิทย์ จินดาพล. (2563). สังคมสูงวัยในอาเซียน: วิกฤตที่ไทยต้องเตรียมรับมือ. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, จังหวัดนครปฐม, วันที่ 9 - 10 กรกฎาคม 2563. หน้า 2325-2333.

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2558). รายงานสรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการระดับภูมิภาคว่าด้วยเรื่อง‘‘ASEAN+3: Are We Ready for Our Ageing Society ? ’’. สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก https://www.dop.go.th/download/implementation/work_th_20161107 092854_2.pdf

ศิริพัฒน์ ยอดเพชร. (2549). ระบบการดูแลระยะยาวในครอบครัวสำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงบประมาณของรัฐสภา. (2564). รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565: แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย. สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/download/article/article_ 20210813155003.pdf

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สุรพงษ์ มาลี. (2561ก). รู้จักสังคมสูงอายุและสถานการณ์ผู้สูงอายุ (ในประเทศไทย). วารสารข้าราชการ, 60(4), 5-8.

สุรพงษ์ มาลี. (2561ข). เตรียมความพร้อมกำลังคนภาครัฐสู่สังคมสูงอายุอย่างไร? แกะรอยยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ. วารสารข้าราชการ, 60(4), 9-11.

อารดา ธีระเกียรติกำจร. (2554). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566—2570). ราชกิจจานุเบกษา.

Chewasopit, W. (2019). Aging Society: The changed marketing factor. Journal of MCU Nakhondhat, 6(1), 38-54.

Flanagan, J.C.(1978). A research approach to improving our quality of life. American psychologist, 33(2), 138.

Lüders, M., & Brandtzæg, P. B. (2017). ‘My children tell me it’s so simple’: A mixed-methods approach to understand older non-users’ perceptions of Social Networking Sites. New media & society, 19(2), 181-198.

World Health Organization.(2006).WHOQOL-OLD MANUAL. Retrieved April 15, 2022, from https://www.academia.edu/28226812/WHOQOL_OLD_MANUAL

Yu, J. et al. (2022). Structural model for the relationships between age-friendly communities and quality of life of older adults in Hefei, China. Engineering, Construction and Architectural Management, 29(3), 1376-1395.