การสื่อสารทางการเมืองเพื่อลดความขัดแย้งในสังคมไทย ตามทัศนะของนักการเมืองหญิง

Main Article Content

ฮูวัยดีย๊ะ พิศสุวรรณ อุเซ็ง
วิทยาธร ท่อแก้ว
กานต์ บุญศิริ

บทคัดย่อ

ความขัดแย้งในสังคมไทยส่วนใหญ่เป็นผลผลิตมาจากการเมืองทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องและคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย ดังนั้น การสื่อสารทางการเมืองจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง นับเป็นประเด็นสำคัญที่นำไปสู่การศึกษาครั้งนี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการสื่อสารทางการเมืองเพื่อลดความขัดแย้งในสังคมไทยตามทัศนะของนักการเมืองหญิง วิธีการดำเนินวิจัยใช้การเก็บข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกกับนักการเมืองหญิง รวม 4 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบความถูกต้องด้วยการวิเคราะห์แบบสามเส้าซึ่งประกอบด้วยการตรวจสอบด้านบุคคลจากนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในสังคมไทย ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบที่สำคัญของการสื่อสารทางการเมืองได้แก่ ผู้ส่งสารสาร ช่องทางการสื่อสาร และผู้รับสาร และ 2) แนวทางการสื่อสารทางการเมืองที่สามารถลดความขัดแย้งในสังคมไทยได้อย่างยั่งยืนนั้น จะต้องมีความจริงใจ การให้เกียรติ ความมีมารยาทในการสื่อสาร  เรียนรู้ที่จะรับฟังความเห็นต่างอย่างอารยะ เปิดใจให้กว้าง อย่าด่วนตัดสินผู้อื่น และการใช้โซเชียลมีเดียและเทคโนโลยีอย่างมีสติและใช้ปัญญา

Article Details

How to Cite
พิศสุวรรณ อุเซ็ง ฮ. ., ท่อแก้ว ว., & บุญศิริ ก. (2023). การสื่อสารทางการเมืองเพื่อลดความขัดแย้งในสังคมไทย ตามทัศนะของนักการเมืองหญิง. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน, 5(3), 84–97. https://doi.org/10.14456/jappm.2023.42
บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ วิลาวัลย์. (2561). บทบาทและการสื่อสารในสภาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิง: ศึกษาในห้วงเวลาปี พ.ศ. 2554-2556. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(1), 226-237.

กรุณา มธุลาภรังสรรค์. (2564). สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทย. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 12(1), 120-130.

กันยรัตน์ ไมยรัตน์ และคณะ. (2565). การศึกษาบทบาทของสตรีและภาวะผู้นำกับการสื่อสารทางการเมืองของนางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ในฐานะนักการเมืองช่วงเวลาพ.ศ.2562-ปัจจุบัน (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ. (2564). ผู้หญิงกับการเมือง...กลไกการเมืองที่ต้องขยายและเปิดให้กว้างขึ้น. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2566, จาก https://www.posttoday.com/columnist/647334

ธัญญา ใยทอง. (2548). กลยุทธ์การสื่อสารทางการเมือง ของสาขาพรรคประชาธิปัตย์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธีรพร ทวีธรรมเจริญ. (2553). การเรียนรู้วิถีชุมชนจากแนวคิดในทฤษฎีโครงสร้างทางสังคม และทฤษฎีชุมชน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 30(1), 104-116.

นิเทศ สนั่นนารี. (2561). การสื่อสารเชิงพุทธเพื่อสร้างความปรองดองในสังคม. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5(1), 159-178.

ปราณี สุรสิทธิ์. (2555). การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: แสงดาว.

พระครูธรรมธรบุญเที่ยง พุทฺธสาวโก (ลักษณ์พลวงค์) และคณะ. (2565). การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการสื่อสารทางการเมืองเพื่อเสริมสร้างความสมานฉันท์. วารสารวิจยวิชาการ, 5(2), 15–24.

ภัสสร คงเอียด. (2565). การศึกษาบทบาทของสตรีกับการสื่อสารทางการเมืองของนางกัญจนา ศิลปอาชาในฐานะหัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา ศึกษาในช่วงเวลา พ.ศ.2561-2564 (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รัฐพล เย็นใจมา และสุรพล สุยะพรหม. (2561). ความขัดแย้งในสังคม: ทฤษฎีและแนวทางแก้ไข.วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(2), 224-238.

ลิขิต ธีระเวคิน. (2553). การเมืองการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ลิขิต ธีระเวคิน. (2563). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2544). การประชาสัมพันธ์. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์.

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์. (2561). พุทธวิธีเชิงบูรณาการแก้ปัญหาความขัดแย้งในการเมืองไทยปัจจุบัน. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 14(2), 66-78.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2541). การสื่อสารกับการเมือง. กรุงเทพฯ: ประสิทธิ์ภัณฑ์ แอนด์ พริ้นติ้ง.

สืบวงษ์ สุขะมงคล. (2557). การบริหารจัดการความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศไทย. วารสารเกษมบัณฑิต, 15(1), 39-55.

เสถียร เชยประทับ. (2540). การสื่อสารและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Agree, W.K., Ault P.H., & Emery, E. (1976). Introduction to mass communication. New York: Harper & Row.

Almond, C.A. & Coleman, J.S. (Eds.). (1960). The Politics of developing areas. Prince Tow, N.J.: Princeton University.

Chaffee, S.H. (1975). Political Communication: Issues and Strategies for Research. SAGE Publications: The University of Michigan.

Harold, D Lasswell. (1984). The Structure and Functional of Communication In Society. The Com-munication of Ideals, Lyman Brysoned. New York, NY: Harper and Row Publishers.

Huggins, Richard. (1997). The Nature of the State. In Barrie Axford, Gary K. Browning, Richard Huggins, Ben Rosamond, John Turner, with Alan Grant (eds.) Politics: An Introduction. London and New York.

McNair, Brian. (1999). An Introduction to Political Communication. London: Routledge Press.