การก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบในประเทศไทย

Main Article Content

Suphattra Yodsurang

บทคัดย่อ

บทความเรื่องการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบในประเทศไทย นำเสนอความหมายของการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบ ความเป็นมาของการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบโดยเฉพาะการก่อความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยนำเสนอกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ  ปัจจัยที่มีผลต่อการก่อความไม่สงบและการก่อการร้าย แนวคิดและข้อเสนอแนะการแก้ปัญหาการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบ จะเห็นได้ว่า ปัญหาการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบนั้นยังคงดำเนินต่อไปในระดับความรุนแรงที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและสถานการณ์ในขณะนั้น รวมถึงนโยบายการสร้างความสมานฉันท์ของรัฐบาล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมยุทธศึกษาทหารบก. (2549). การก่อความไม่สงบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมยุทธศึกษาทหารบก.

กิตติ รัตนฉายา. (2549). ถอดรหัสไฟใต้. กรุงเทพ: สหธรรมมิต จำกัด

เกษียร เตชะพีระ. (2548). นิยามการก่อการร้าย. มติชนรายวัน วันที่ 24 มิ.ย. 2548, หน้า 6)

คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรมวุฒิสภา. (2549). เอาชนะความรุนแรงด้วยความสมานฉันท์ เข้าถึงได้จาก http://www.nrc.or.th. สืบค้นวันที่ 12 มกราคม 2562.

คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรมวุฒิสภา. (2549). เอาชนะความรุนแรงด้วยความสมานฉันท์ เข้าถึงได้จาก http://www.nrc.or.th. สืบค้นวันที่ 12 มกราคม 2562.

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวยและคณะ. (2548). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์การปรับกระบวนทัศน์กระบวนการยุติธรรมไทย กรุงเทพ มูลนิธิพัฒนากระบวนการยุติธรรม.

ชัยณรงค์ พงษ์สวัสด์. (2546). ยุทธศาสตร์ของการก่อการร้ายรูปแบบใหม่. วารสารเสนาศึกษา, 69 หน้า 24-25.

ดลยา เทียนทอง. (2549). จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 3. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

ทินพันธ์ นาคะตะ. (2553). การก่อการร้าย ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับ สังคมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน –ธันวาคม 2553.

บุญรอด ศรีสมบัติ. (28 ธันวาคม 2555). มองจากข้างนอก : วิเคราะห์ปัญหารากเหง้าไฟใต้. เข้าถึงได้จาก http:// narater2010. blogspot.com/2012/10/blog-post_7722.html. สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2562.

วิชัย ชูเชิด. (2547). การกำหนดยุทธศาสตร์ระยะยาวในการแก้ปัญหาการก่อความไม่สงบในพื้นที่สาม จังหวัดภาคใต้. กรุงเทพฯ: โรงเรียนเสนาธิการทหารบก.

สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง. (2545). คู่มือฝ่ายอำนวยการและผู้บังคับหน่วย. กรมยุทธศึกษาทหารบก:กรุงเทพ.

สมเกียรติ วันทะนะ ธานี ทวิชศรี และ สมพล วีระศักด์. (2546). ก้าวต่อไปสู่ความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ รายงาน คณะนักศึกษา หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 96.

สุรชาติ บำรุงสุข. (2550). แนวคิด-ยุทธวิธีขบวนการก่อการร้าย เจไอ. จุลสารความมั่นคง ฉบับที่ 57.กรุงเทพฯ : Animate Print And Design Co.,Ltd.

หาญ ลีลานนท์ . (2547). มติชน รายวัน 1 กุมภาพันธ์ 2547.