การศึกษาโครงสร้างตลาดและพฤติกรรมตลาดในตลาดโซล่าร์รูฟท็อปในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอกรอบแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างตลาดและพฤติกรรมตลาดในตลาดโซล่าร์รูฟท็อป ผ่านกระบวนการทบทวนเอกสาร (Documentary reviews) ในงานนี้จะวิเคราะห์แนวคิด 2 เรื่องได้แก่ (1) โครงสร้างการตลาด พฤติกรรมของหน่วยผลิต และผลของการดำเนินงาน (Structure-Conduct-Performance (SCP)) และ (2) การแพร่กระจายนวัตกรรม (Diffusion of Innovation Theory) ที่มีการศึกษาเกี่ยวกับโซล่าร์รูฟท็อป พบว่าตลาดโซล่าร์รูฟท็อปของไทยยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายตามที่ผู้กำหนดนโยบายภาครัฐตั้งไว้ เนื่องจาก (1) โครงสร้างตลาดที่ไม่มีการแข่งขันที่สมบูรณ์ และ (2) การติดตั้ง โซล่าร์รูฟท็อปเป็นเรื่องใหม่และเป็นที่รู้จักเพียงกลุ่มนวัตกร (Innovators) และ กลุ่มผู้ยอมรับนวัตกรรมก่อนผู้อื่น (Early adopter) เท่านั้น จึงต้องมีการขยายโอกาสเรื่องโครงสร้างตลาดและพฤติกรรมตลาดในตลาด โซล่าร์รูฟท็อปในสังคมไทย และการสนับสนุนการติดตั้งโซล่าร์รูฟท็อปจากทางภาครัฐที่เหมาะสมเพื่อจะนำมาใช้เป็นกรอบทางความคิดในงานวิจัยต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
สมภพ พัฒนอริยางกูล. (2562). ภาพรวม โครงสร้าง นโยบายด้านพลังงาน. สืบค้น 15 มกราคม 2562,จาก https://energy.go.th/2015/
วัฒนพงษ์ คุโรวาท. (2562). เปิดยอด โซล่าร์ภาคประชาชน. สืบค้น 10 มกราคม 2562,จากhttps://www.thebangkokinsight.com/231038/.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2555). ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย 2555 (Energy Balance of Thailand 2012). กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
กระทรวงพลังงาน. (2558). แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579. กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2561). รายงานสถานภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทยปี 2561. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน. (2556). การรับซื้อไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (2562). รายงานดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (2563). สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย เดือนมกราคม - มิถุนายน 2563. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
การไฟฟ้านครหลวง (2563). อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย. สืบค้น 26 มกราคม 2562,จาก https://www.mea.or.th/profile/109/111
วิไลวรรณ วรรณนิธิกุล. (2538). เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมและทฤษฎีต้นทุน. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุภาสินี ตันติศรีสุข. (2545). เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม และทฤษฎีองค์กรอุตสาหกรรม, ประมวลสาระวิชาชุดเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม หน่วยที่ 1 - 8, บัณฑิตศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์.นนทบุรี. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Rolf, Maarten, Mary. (2007). Social acceptance of renewable energy innovation.Energy Policy, 35,2683–2691
Varun Rai. (2011). DECISION-MAKING AND BEHAVIOR CHANGE IN RESIDENTIAL ADOPTERS OF SOLAR PV. Retrieved February 6, 2019, from http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download? doi=10.1.1.463.3935&rep=rep1&type=pdf
Gillingham et al. (2016). Deconstructing Solar Photovoltaic Pricing: The Role of Market Structure, Technology, and Policy. Berkeley lab.
Eric O'Shaughnessy. (2018). Trends in the market structure of US residential solar PV installation, 2000 to 2016. Retrieved February 6, 2019, from https://www.osti.gov/pages/servlets/purl/ 1566058.
Zhang. (2016). Innovative business models and financing mechanisms for distributed solar PV (DSPV) deployment in China. Energy Policy, 95, 458-467.
Frederick T. Sparrow. (1980). PUBLIC UTILITY INVOLVEMENT WITH DISTRIBUTED SOLAR SYSTEMS. Retrieved February 16, 2019, from https://heinonline.org/HOL/LandingPage?handle=hein. journals/solar1&div=58&id=&page=
Severin Borenstein. (2015). The Private Net Benefits of Residential Solar PV: And Who Gets Them. Retrieved February 20, 2019, from http://idei.fr/sites/default/files/medias/doc/conf/eem/conf 2014/Abstract_Borenstein.pdf
Varun Rai, D. Cale Reeves, Robert Margolis c. (2015). Overcoming barriers and uncertainties in the adoption of residential solar PV. Renewable Energy, 89, 498-505.
Ben Sigrin, Jacquelyn Pless, Easan Drury. (2015). Diffusion into new markets: evolving customer segments in the solar photovoltaics market. Environmental Research Letters, 10(8),1-8.
Rogers, Everett M. (1995). Diffusion of Innovations. New York: Free Press.