การทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับสถานศึกษาในฐานะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ เป็นการรวบรวมเนื้อหาประเด็นสำคัญของแนวคิดเกี่ยวกับสถานศึกษาในฐานะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายบริบท องค์ประกอบ ของสถานศึกษาในฐานะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ประกอบด้วย (1) แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การแห่งการเรียนรู้ (2) องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ (3) แนวคิดองค์การแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และ (5) ความจำเป็นในการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ บทความวิชาการนี้จึงช่วยสร้างความเข้าใจและความตระหนักรู้ต่อระบบการเรียนรู้ในองค์กรเพื่อให้สามารถพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ได้ ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผู้นำสูงสุดนับว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาองค์กร ต้องมีภาวะผู้นำ รู้จักนำแผนกลยุทธ์หรือกระบวนการบริหารรูปแบบใหม่มาปรับใช้กับบุคลากรในสถานศึกษาให้เหมาะสมเพื่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กฤษฏิ์คำผา ชำนาญ. (2552). การพัฒนาความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้: กรณีศึกษา โรงเรียนเกาะโพธิ์ถ้วย งามวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาชลบุรี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พัชรกันย์ เมธาอัครเกียรติ ประสพชัย พสุนนท์. (2561). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลในการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะมหาวิทยาลัยศิลปากร. 11(1) มกราคม – เมษายน, 717-739.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2544). โรงเรียนองค์การแห่งการเรียนรู้กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจํากัด ทิพย์วิสุทธิ์.
วีรวัฒน์ ปันนิตามัย. (2544). การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เปอร์เน็ต.
ศิรัญญา สระ. (2557). ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ตามทรรศนะของผู้บริหาร สถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพ สตรีลพบุรี.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2554). หลักการ ทฤษฎี และนวัตกรรม การบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์.(2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(4) ตุลาคม – ธันวาคม, 192–208.
Argyris, C., & Schon, D. (1978). Organization learning: A theory of action perspective. Reading, MA: Addison-Wesley.
Garvin, D. (1993). Building learning organizations. Harvard Business Review, 71(3), 78-91.
Kerka, S. (1995). The Learning Organization. Retrieved from http://www.ericcave.ord/ docs/mr0004.html.
Marquardt, M. (2002). Building the Learning Organization: Master the 5 Elements for Corporate Learning. California, Davies-Black Publishing,
Marquardt, M. J. and Reynolds, A. (1994). The Global Learning Organization. New York: IRWIN.
Perskins, D. (2000). The Smart School. Retrieved from http://www.pz.harvard.edu/ Research/SmartSch.htm.
Razik, T.A., and Swanson, A.D. (2001). Fundamental concept of educational leadership (2nd ed.). New Jersey: Merrill Prentice-Hall Schools. Boston: Allyn and Bacon.
Senge, P. M. (2006). The fifth disciplines: The art and practice of learning organization. (2nd ed.). London: Century Business.
Senge, Peter M. (1990). The Fifth Discipline: The Art and Practice of Learning Organization. New York: Doubleday/Currency.
Ubben, G.C. and Hughes, L.W. (1987). The Principal: Creative Leadership for Effective schools. Boston: Allyn and Bacon. MLA (7th ed.)