https://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/issue/feedJournal of Administration and Development, Mahasarakham University2013-10-04T15:20:08+07:00ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์Journaladed@msu.ac.thOpen Journal Systems<p>จัดทำโดยภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</p>https://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12123การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์ และบทเรียนบนเครือข่ายแบบสืบเสาะ2013-10-04T15:20:08+07:00กิตติยา อุดน้อยsutum_t@hotmail.comสังคม ภูมิพันธุ์sutum_t@hotmail.comประมวล โสภาพรsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีความม่งหมายเพื่อ1)พัฒนาบทเรียนแบบเว็บเควสท์และบทเรียนบนเครีอข่ายแบบสืบเสาะกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องเทคโนโลยี สื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์80/80 2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนแบบ เว็บเควสท์และบนเรียนบนเครือข่ายแบบสืบเสาะที่พัฒนาขึ้น 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์กับบทเรียนบนเครือข่ายแบบสืบเสาะ 4) เปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์กับบทเรียนบนเครีอข่ายแบบสืบเสาะ และ 5) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์กับบทเรียนบนเครือข่าย แบบสืบเสาะกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโนนเมืองวิทยาคาร อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 2 ห้องเรียน ได้จากการลุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ได้แก่ 1) บทเรียนแบบเว็บเควสท์และบทเรียนบนเครือข่ายแบบสืบเสาะ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องเทคโนโลยี สื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 40 ข้อ มีความยาก ตั้งแต่ 0.30 ถึง 0.75 ค่าอำนาจจำแนก 0.25 ถึง 0.83 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.89 3) แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ 0.21 ถึง 0.79 และมีค่าอำนาจจำแนก 0.22 ถึง 0.60 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.734) แบบสอบถามความพึง พอใจ จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.75 ถึง 0.90 และมีค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับ 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test (Independent Samples)</p> <p><strong>ผลการวิจัยปรากฏดังนี้</strong></p> <p>1. บทเรียนแบบเว็บเควสท์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.83/83.58 และมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7120 ซึ่งแสดงว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนร้อยละ71.20</p> <p>2. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า การเรียนด้วยบทเรียนบนเครีอข่ายแบบสืบเสาะอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05</p> <p>3. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์มีการคิดวิเคราะห์สูงกว่านักเรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครีอข่ายแบบสืบเสาะ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>4. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วย บทเรียนแบบเว็บเควสท์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> <p>5.นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครีอข่ายแบบสืบเสาะมีความพึงพอใจต่อการ เรียนด้วยบทเรืยนบนเครือข่ายแบบสืบเสาะโดยรวมอยู่ในระดับมาก</p> <p><strong>คำ</strong><strong>สำคัญ :</strong> บทเรียนเครือข่าย, บทเรียนแบบเว็บเควสท์, บทเรียนแบบสืบเสาะ, ทักษะการคิดวิเคราะห์</p><p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research, were 1) to develop an effective web quest lesson and an inquiry based online lesson entitled “Information Technology and Internet” for the career and technology learning strand of Mattayomsuksa 3 students, with the expected 80/80 efficiency value, 2) to investigate the effective index of the developed web quest lesson and the inquiry based online lesson, 3) to compare the learning achievement of the students learning through the web quest lesson and the inquiry based online lesson, 4) to compare the analytical thinking skills of the students learning through the web quest lesson and the inquiry based online lesson, and to study the students’ satisfaction on the use of web quest lesson and the inquiry based online lessons.</p> <p>The samples included 2 groups of Mattayomsuksa 3 students enrolling in the first semester of the 2010 academic year in Nonmuang Wittayakhan School, Nonsang District, Nongbualampoo Province under the jurisdiction of Office of Educational Service Area 1. The samples were selected by using the cluster random sampling technique while the research tools included 1) the designed web quest lesson and inquiry based online lesson, 2) a 40-question achievement test with the difficulty values ranging from 0.30 to 0.75, the discrimination values from 0.25 to 0.83, and the total reliability value of 0.89, 3) A 20-question analytical thinking test with the difficulty values raging from 0.21 to 0.79, the discrimination value from 0.22 to 0.60, and the total reliability value of 0.73, and 4) a 20-question satisfaction questionnaire about the web quest lesson and inquiry based online lesson, with the discrimination values ranging from 0.75 to 0.90, and the reliability value of 0.83. The statistics used for data analysis were percentage, mean, and standard deviation.</p> <p>The results revealed that 1) the efficiency value of the developed web quest lesson for the career and technology strand was 84.83/83.58 and its effective value was 0.7120 meaning 71.20 percent of the students had significant learning improvement; 2) the students learning through the web quest lesson significantly had higher learning achievement than those learning through the inquiry based online lesson, at the p-value of .05; 3) the students learning through the web quest lesson significantly had higher analytical thinking skills than those learning through the inquiry based online lesson at the p-value of .05; 4) the students learning through the web quest lesson were satisfied with the lesson at the highest level; and 5) the students learning through the inquiry based lesson were satisfied with the lesson at the high level.</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12124การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้2013-10-04T15:20:08+07:00เกริก ท่วมกลางsutum_t@hotmail.comสำเริง บุญเรืองรัตน์sutum_t@hotmail.comวิเชียร ชิวพิมายsutum_t@hotmail.comสุภัทรา เอื้อวงศ์sutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน ขนาดเล็ก มีวิธีดำเนินการวิจัย ดังนี้</p> <p>ประชากร คือโรงเรียนขนาดเล็กที่มีจำนวนนักเรียนตำกว่า 120 คน สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2554</p> <p>กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานจำนวน14โรงเรียนที่มีบุคลากรประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน14คนครู จำนวน 61 คน รวม 75 คน ที่เลือกแบบเจาะจงจากโรงเรียนขนาดเล็กอำเภอขามสะแกแสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน มาร่วมกันพัฒนา</p> <p>วิธีการพัฒนา มุ่งพัฒนาความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้อำนวยการโรงเรียน แรง จูงใจใฝ่เของครู และเจตคติที่ดีของครูที่มีต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน ซึ่งเป็นตัวแปรต้นที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้โดยจัดอบรมเชิงปฏิบติการให้ ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์การแห่งการแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ ความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้อำนวยการโรงเรียน การเขียนบทความ ทางวิชาการ การทำวิจัยในชั้นเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากบุคคลต่างๆ ได้มีการ นำเสนอ</p> <p>ผลการวิจัยในชั้นเรียนก่อนและหลังการพัฒนาดำเนินการ 1) วัดระดับความเป็น องค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน 2) วัดระดับความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้อำนวยการ โรงเรียน 3) วัดระดับแรงจูงใจใฝ่รู้ของผู้อำนวยการโรงเรียนและของครู 4) วัดระดับเจตคติ ของผู้อำนวยการโรงเรียนและครูที่มีต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน และ 5) ภายหลังการพัฒนา สอบถามความพึงพอใจของผู้อำนวยการโรงเรียนและของครูต่อการ อบรมเชิงปฏิบ้ติการ ใช้ Sign Test ทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนการพัฒนาและ หลังการพัฒนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบในการพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เกิดจาก ความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้อำนวยการโรงเรียน แรงจูงใจใฝ่รู้ของครู และเจตคติที่ดีของ ครูที่มีต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ จึงต้องพัฒนาตัวแปรทั้ง 3 นั้นด้วยการอบรมเชิง ปฏิป้ติการให้ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจ ความเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้ การจัดการความรู้ ความเป็นผู้นำทางวิชาการ การเขียนบทความทางวิชาการ การทำ วิจัยในชั้นเรียนด้วยการพัฒนาดังกล่าวนี้จึงปรากฏผลว่า</p> <p>1. ภายหลังการพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้โรงเรียนขนาดเล็กมี ระดับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <em>a =</em> .01</p> <p>2. ภายหลังที่ผู้อำนวยการโรงเรียนขนาดเล็กได้รับการพัฒนาความเป็นผู้นำทางวิชาการ ระดับความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้อำนวยการโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <em>a =</em> .01</p> <p>3. ภายหลังที่ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูได้เรียนรู้ความเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้การจัดการความรู้การวิจัยในชั้นเรียนการเขียนบทความทางวิชาการระดับแรงจูงใจ ใฝ่รู้ของผู้อำนวยการโรงเรียนและของครูโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ <em>a =</em> .01</p> <p>4. ภายหลังที่ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูได้เรียนรู้ ความเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้การจัดการความรู้ระดับเจตคติที่ดีที่มีต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้อำนวย การโรงเรียนและของครูโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <em>a =</em> .01</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong>: องค์การแห่งการเรียนรู้, ผู้นำทางวิชาการ, แรงจูงใจใฝ่รู้, เจตคติ</p><p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purpose of this study was to develop small schools to be learning organization. The research methodology was as follows.</p> <p>The population was the small schools that had maximum of 120 students under the Office of the Basic Education Commission in the academic year 2011.</p> <p>The sample group comprised of fourteen small schools under the Office of the Basic Education Commission. These schools had fourteen directors and 61 teachers with the total of 75 staff who were purposively selected in this study from the small schools at Kham Sakaesaeng District under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area 5.</p> <p>The development procedures emphasized on improving directors’ academic leadership, teachers’ motivations and positive attitudes towards the schools’ learning organization which considered as the independent variables affecting the learning organization. The procedures consisted of arranging the workshop for directors and teachers, and acknowledging the participants on the topics of the learning organization, knowledge management, academic leadership of the school director, academic article writing, classroom action research and exchanging the knowledge from different academicians. Additionally, the results of the classroom action researches and the academic articles were presented; and brainstorming on the development procedures for the schools to be the learning organization was arranged.</p> <p>The pre-and post-development procedures were as follows. (1) Measure the levels of the learning organization of the schools, (2) Measure the levels of the academic leadership of the school directors, (3) Investigate the levels of the motivation of both the directors and the teachers, (4) Examine the levels of the attitudes of the directors and teachers towards the learning organization, and (5) At the post development procedures, investigate the satisfactions of the school directors and teachers on the workshop. Sign Test was employed to investigate the differences of the pre- and post-development scores.</p> <p><strong>The findings revealed that</strong></p> <p>The model of the learning organization development was derived from the directors’ academic leadership, teachers’ motivations and positive attitudes towards the schools’ learning organization. Therefore, these three variables must be developed by arranging the workshop for directors and teachers to understand the concepts of the learning organization, knowledge management, academic leadership, academic article writing and classroom action research. The results of the developments were as follows.</p> <p>After the development of the learning organization, the small schools were increased higher levels of the learning organization with the statistical significant at <em>a</em> =.01 level.</p> <p>After the development of the directors’ academic leadership, the levels of the academic leadership of small schools directors were increased at the statistical significant at a =.01 level.</p> <p>After the development of the directors and teachers on the learning organization, knowledge management, classroom action research and academic article writing, the levels of the motivation of the small schools directors and teachers were increased at the statistical significant at <em>a</em> =.01 level.</p> <p>After the development of the school directors and teachers on the learning organization and knowledge management, the levels of their attitudes towards the learning organization were increased at the statistical significant at <em>a</em> =.01 level.</p> <p><strong>Keywords </strong>: Learning Organization, Academic Leadership, Motivation, Attitudes</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12128การเปรียบเทียบผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มต่อความฉลาดทางอารมณ์ ระหว่างทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงกับ ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์2013-10-04T15:20:08+07:00ถนอมจิต คงพลูเพิ่มsutum_t@hotmail.comพนม ลิ้มอารีย์sutum_t@hotmail.comรังสรรค์ โฉมยาsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยนี้มีความม่งหมายเพื่อ 1 ) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง 2) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์ 3) เพื่อเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการ ให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง และทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีคะแนนประเมินความฉลาดทางอารมณ์ตํ่ากว่าเกณฑ์ปกติ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจำนวน 16 คนแบ่งเป็นการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงจำนวน 6 คน การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์ จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิตระดับอายุ 12-17ปี โปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความ จริงและโปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้ฟังคำปรึกษาแบบเกสตัลท์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบสมมุติฐานของวิลคอกซอล (The Wilcoxon Mathehed Pairs Signed Ranks Test) และการทดสอบของ แมนวิทนีย์ (The Mann Whitney U Test) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้</p> <p>1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้น หลังจากการได้รับคำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4มีความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้นหลังจากการได้รับคำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05</p> <p>3.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความฉลาดทางอารมณ์แตกต่างกันหลังจากการได้รับคำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงกับทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาตามแบบเกสตัลท์มีความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม ตามทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong>: การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม, การให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริง, การให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์, ความฉลาดทางอารมณ์</p> <p> </p> <p><strong>ABSTRACT</strong></p> <p>The purposes of this experiment research were : 1) To compare the EQ of students in Mahasarakham level four during pre and post counseling based on the reality theory . 2) To compare The EQ of students in Mahasarakham level four during pre and post counseling based on the Gestalt theory. 3) To compare the EQ of students in Mahasarakham level four between the group counseling based on the Reality theory and the Gestalt theory. The sample used in this study consisted of Mahasarakham level four students , whose Emotional quotient scores classified in the lower level. By purposive 16 Students were divided into two groups and each group consisted of students . The two types of instruments were : 1) The Emotional Guotient test of Mental Health Department level age 12-17 years . The test consisted of 52 items and a rating scale. 2) The Counseling program on Reality theory and counseling program on Gestalt theory. The statistics used for analying date were means , standard deviation : and the Wilcoxon Matched Pairs signed Ranks Test and the Mann Whitney บ test. The results of the study were as follows :</p> <p>The Mathayomsuksa level four students had higher Emotional Guotient after received group counseling based on the Reality theory than before counseling .05 as a level of significance.</p> <p>The Mathayomsuksa level four students had higher Emotional Quotient after received group counseling based on the Gestalt theory than before counseling .05 as a level of significance.</p> <p>The Mathayomsuksa level four students had differently Emotional Guotient after received group counseling based on the Reality theory and group counseling based on the Gestalt theory .05 as a level of significance. The Mathayomsaksa level four students who received group counseling based on the Gestalt Theory had higher Emotional Quotient than the Mathayomsaksa level four students who received group counseling based on the Reality theory .</p> <p><strong>Keywords </strong>: Group counseling, Reality counseling, Gestalt counseling Emotional Quotient</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12130การศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางการพัฒนาการดำเนินงาน โรงเรียนต้นแบบสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 22013-10-04T15:20:08+07:00นพพร แก้วทองsutum_t@hotmail.comปรีชา อ่วมปัญญาsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 12 คน ครูผู้สอน 147 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (rating scale) จำนวน 39 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น .87 การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (m) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1. สภาพการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตากเขต2 พบว่า ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมากได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ</p> <p>2. ปัญหาการดำเนินงาน พบว่า ในภาพรวมมีปัญหาน้อยและมีปัญหาอยู่ในระดับน้อย ได้แก่ ด้านการออกแบบกระบวนการเรียนรู้</p> <p>3. แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 มีแนวทาง การพัฒนาได้แก่ โรงเรียนควรกำหนดนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงไว้โนวิสัยทัศน์พันธกิจ กลยุทธ์ ควรมีการประชุมชี้แจง คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย เพื่อสร้างความตระหนักและ ความสำคัญของการดำเนินโครงการเศรษฐกิจพอเพียงภายในโรงเรียน</p> <p><strong>คำ</strong><strong>สำคัญ </strong>: โรงเรียนต้นแบบ, การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ, กระบวนการเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียง, เศรษฐกิจพอเพียง, โรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง, แหล่งเรียนรู้</p><p> </p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research were to study the problems and the actual process development the model school; to create the process of learning to the sufficient economy of the school in Tak educational service area, zone 2. Respondent consisted of 12 administrators and 147 teachers. The research instruments were questionnaire rating scale 5 for 39 questionnaires. Confidence consisted .87, analysis data consisted mean (m) and standard deviation (s)</p> <p><strong>The findings of the study were as follows:</strong></p> <p>1. The actual administration of sufficient economy of the school in Tak educational service area, zone 2. It was found that the overall are highly-successful model such as administration management.</p> <p>2. Administration’s problems. The overall, there have few problems such as learning process design.</p> <p>3. The development procedure for creative learning to the sufficient economy of the school in Tak educational service area, zone 2. It was necessary to estimate sufficient economy philosophy in visions, obligation, strategy and need to clarification among 4 committees to emphasize the important of sufficient economy project in school.</p> <p><strong>Keywords </strong>: original School, developing original school, learning process sufficient Economic, learning center process sufficient economic, sufficient economic original school</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12133รูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา2013-10-04T15:20:08+07:00พระครูใบฎีกาบุญชู ชุติปญฺโญsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา วิธีการวิจัยประกอบด้วย 4ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาปัญหาการบริหาร โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้การระดมความคิดจากผู้เชี่ยวชาญที่เลือกแบบเจาะจงเลือกมา25 รูป/ท่าน มานำเสนอสภาพปัญหาการบริหารโรงเรียนพระปริยัติ ธรรมแผนกสามัญศึกษา ขั้นตอนที่2 การประเมินสมมุติฐานรูปแบบการบริหารโรงเรียนพระ ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญ23 รูป/ท่าน มารับทราบสภาพปัญหา ในขั้นตอนที่ 1 แล้วขอให้ผู้เชี่ยวชาญเสนอสภาพปัญหาการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และเสนอข้อคิดเห็นเพิ่มเติม จากนั้นได้เชิญให้ผู้เชี่ยวชาญระดมความคิด ปรับปรุงรูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา แล้วประเมินผลรูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การทดลองรูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษาที่โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดบึงกิตติวิทยา แผนกสามัญศึกษา ตำบลในเมือง อำเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเวลา 2 เดือนระหว่างวันที่ 9 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 ถึงวันที่ 24 เดือนกันยายน พ.ศ.2554 ขั้นตอนที่ 4 ปรับปรุงรูปแบบเป็นครั้งสุดท้ายจากผลการทดลอง</p> <p>จากผลการประเมินและทดลองรูปแบบปรากฏว่า รูปแบบนี้มีความถูกต้อง สมบูรณ์นำไปปฏิบัติได้และมีประโยชน์ได้รูปแบบการบรหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาดังนี้</p> <p style="text-align: right;"><strong>คำ</strong><strong>สำคัญ </strong>: รูปแบบการบริหาร, โรงเรียนพระปริยติธรรม แผนกสามัญศึกษา</p> <p> </p> <p><strong>ABSTRACT</strong></p> <p>This research aimed to develop the model of administration of the Phrapariyatidhamma schools of general education department. This study consisted of four stages and the first stage was to study administration problems in the Phrapariyatidhamma schools of general education department with brainstorming method. 25 purposive selected experts were used to present these problems. Secondly, the hypotheses were set on the administration model of the Phrapariyatidhamma schools of general education department was presentred to 23 experts in the fields who were invited to acknowledge the problems from the first stage and the additional suggestions concerning the administration problems were obtained. Then, the experts participated in the brainstorming to improve the administration model to be correspondent to the problems and to evaluate this model. Thirdly, the model of administration of the Phrapariyatidhamma schools of general education department was implemented for two months from July, 9 2011 to September, 24 2011 at Buengkitiwittaya Phrapariyatidhamma School of general education department, NaiMuang Sub-district, Muang District NakhonRatchasima Province. Finally, the model was improved from the results of the implementation.</p> <p>The results of the evaluation and implementation indicated that this model was accurate, perfect, practical and beneficial. The following figure illustrates the model of administration of the Phrapariyatidhamma schools of general education department.</p> <p><strong>Keywords </strong>: A Model of Administration of the Phrapariyatidhamma Schools of General Education Deparament</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12137ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : การวิเคราะห์โมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่น2013-10-04T15:20:08+07:00อดุลย์ สนั่นเอื้อเม็งไธสงsutum_t@hotmail.comสุนทรพจน์ ดำรงค์พานิชย์sutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยระดับครูและปัจจัยระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนของครูโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยโมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่น กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้าราชการครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจำนวน 1,160 คนจาก 61 โรงเรียนซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการทำวิจัยในชั้นเรียนแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 48 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .46 -.87 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0.62 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ . 84 และแบบทดสอบวัดสมรรถนะการทำวิจัยในชั้นเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 32 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ .44 ถึง .71 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ .57 มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .42 ถึง .78 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0.59 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ. 80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยโมเดลเชิงเส์'นตรงระดับลดหลั่นด้วยโปรแกรม สำเร็จรูป สถิติที่ใซ้ได้แก่ t- test (lndependent Sample), ความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ความเบ้, ความโด่ง, วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบลดหลั่น ผลการวิจัย ปรากฏดังนี้ 1) ผลการวิจัยพบว่าตัวแปรระดับครูที่มีผลต่อสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนโดยรวมของครูได้แก่ ตัวแปรความเป็นครูที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการทำวิจัยและตัวแปรความคาดหวังในผลการวิจัย อายุราชการ และลักษณะนิสัยที่เอื้อต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน 2) ผลการวิจัยพบว่าตัวแปรระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อค่าเฉลี่ยสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนโดยรวมของครู ได้แก่ ตัวแปรการสนับสนุนของผู้บริหาร</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong>: สมถรรถนะ การวิจัยในชั้นเรียน โมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่น สมถรรถนะการวิจัยในชั้นเรียน</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>This research aimed to study the factors that affected the classroom research competency of Office of The Basic Education Commission teachers using hierarchical linear model analysis.</p> <p>The samples of this study are comprised of teachers from 61 schools under of Office of The Basic Education Commission. The instruments used in collecting data were the questionnaire concerning the factors affecting classroom research with discriminating powers ranging .46-,87 mean discriminating powers ranging.62 and a reliability of .84 and the classroom research performance test with difficulty .44-,71 mean difficulty .57 discriminating powers ranging .42-,78 mean discriminating powers ranging.59 and a reliability of .80. Data consisted of the variables of teacher levels and variables of school levels using hierarchical linear model analysis by HLM program. The major results were as follows: 1) Variables of teacher levels that had significant effects on classroom research competency teachers were the experience of the teachers about researching, the behavior of the teachers that support researching, expected of the teachers about researching Working duration of teacher and Gender. 2) Variables of school levels that had significant effects on classroom research competency teachers were the support by the administrators.</p> <p><strong>Keyword </strong>: Competency, Classroom Research, Hierarchical Linear Model Classroom Research Competency</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12140บุพปัจจัยของความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรองรับการถ่ายโอนสถานศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ2013-10-04T15:20:08+07:00ศรีพงศ์ บุตรงามดีsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาตัวแปรสำคัญที่เป็นบุพปัจจัยของความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการถ่ายโอนสถานศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงปรมาณและเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้อำนวยการสำนัก/ กองการศึกษาสังกัดเทศบาล จำนวน 600 ตัวอย่าง ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจำลอง สมการโครงสร้างและจากการสัมภาษณ์เจาะลึก นายกเทศมนตรี ผู้อำนวยการสำนัก/กอง การศึกษาสังกัดเทศบาลและครูที่ถ่ายโอนมาสังกัดเทศบาล ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและปัจจัยด้านศักยภาพในการจัดการศึกษามีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยด้านประชาชนผู้รับบรการและความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านปัจจัยด้านประชาชนผู้รับบริการ 2) ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการถ่ายโอนสถานศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการดำเนินการดังนี้ (1) การพัฒนาผ้บริหารท้องถิ่นให้มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการศึกษา (2) การพัฒนาพนักงานส่วนท้องถิ่นให้เป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ (3) การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และมีทรัพยากรทางการศึกษาที่เพียงพอต่อการจัดการศึกษา ทั้งด้านโครงสร้าง บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ และอาคารสถานที่ และ(4) การพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรองการศึกษาท้องถิ่น และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อให้เห็นว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพร้อม ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งผลการศึกษามีความสอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการวิจัยเชิงคุณภาพข้อค้นพบได้ยืนยันความสำคัญของทฤษฎีความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงซึ่งนำไปสู่ข้อเสนอแนะที่ว่าการแก้ปัญหาความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการถ่ายโอนสถานศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการจำเป็นจะต้องเร่งส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงานแบบมีส่วนร่วมมีการสรรหาบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชนและพัฒนาประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสาร</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong>: ความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน, การถ่ายโอนสถานศึกษา, บุพปัจจัยของความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The objectives of this research are to study the antecedents of foundation education administration readiness for the transferring of schools from the Ministry of Education.</p> <p>The research is conducted via mixed methodology of quantitative and qualitative researching methods. The sample of quantitative research are 600 education division directors and the structure equation modeling is used. The sample of qualitative research are mayors, education division directors and teachers who have been transferred from Ministry of Education and the in-depth interview, is used. The results are as follows : 1) Local administration organization factors and foundation education administration potential factors had a direct effect on people factors and foundation education administration readiness, as well as an indirect effect on foundation education administration readiness. 2) The foundation education administration readiness preparation steps for the transferring of schools from the Ministry of Education : (1) The mayor development towards a better understanding , knowledge and realization of education significance. (2) The officer development to become professional educators. (3) The local administration organization development towards participative administration and sufficient educational resources in Terms of structure, personnel, budget, material, equipment and building, and (4) The people development, toward a better understanding of local education and public participative promotion. The results are consistent with the data from the qualitative research. And the results confirm the Readiness for Change Theory. The suggestions are :participative management promotion, professional education personnel recruitment, people participation promotion and communication’s efficiency development.</p> <p><strong>Keywords </strong>: Foundation education administration readiness, Transferring schools, Antecedents of foundation education administration readiness, Foundation education administration readiness preparation steps</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12143การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ เรื่องการวาดภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบซินเนคติกส์และรูปแบบซิปปา2013-10-04T15:20:08+07:00สายฝน สิงห์เชิดชูวงศ์sutum_t@hotmail.comจิระพร ชะโนsutum_t@hotmail.comสังเวียน ปินะกาลังsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>ศิลปะเป็นวิชาที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีจินตนาการ ทางศิลปะชื่นซมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ดังนั้นกิจกรรมศิลปะมุ่งพัฒนานักเรียนด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ส่งเสริมให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง แสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ และสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุข ดังนั้นการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนตามรูปแบบชินเนคติกส์และรูปแบบซิปปา 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ ระหว่างกลุ่มที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบชินเนคติกส์ และรูปแบบซิปปา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนบ้านหมากแข้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานีนักเรียนจำนวน 80 คน จำนวน 2 ห้อง ซึ่งได้มาโดยการลุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) แล้วสุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลากกลุ่มทดลองที่ 1 เรียนรู้ตามรูปแบบชินเนคติกส์จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน40 คน และกลุ่มทดลองที่ 2 เรียนรู้ตามรูปแบบซิปปา จำนวน 1 ห้องเรียนจำนวน 40 คนเคริ่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3ชนิดคือ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนตามรูปแบบชินเนคติกส์จำนวน 10 แผน มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.38 ถึง 4.66 ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับความเหมาะสม มากถึงมากที่สุด 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบซิปปา จำนวน 10 แผน มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.32 ถึง 4.54 ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับความเหมาะสม มากถึง มากที่สุด 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ้ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (B) ตั้งแต่ .39 ถึง .97 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .88 4) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ จำนวน 3 กิจกรรม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐานใช้ t-test (dependent Sample) และ Hotelling’s T2</p> <p><strong>ผลการวิจัยปรากฏดังนี้</strong></p> <p>1. นักเรียนที่เรียนรู้ตามรูปแบบชินเนคติกส์กับที่เรียนรู้ตามรูปแบบซิปปา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะหลังเรียนรู้สูงขึ้นก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>3. นักเรียนที่เรียนรู้ตามรูปแบบชินเนคติกส์ และรูปแบบซิปปา มีคะแนนโดยเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>โดยสรุป การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบชินเนคติกส์และการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามรูปแบบซิปปา เป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีขั้นตอนที่ชัดเจนและพัฒนาในด้านการฝึกวาดภาพอย่างสร้างสรรค์สร้างจิตนาการ ส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นจึงควรสนับสนุนครูผู้สอนวิชาศิลปะ นำวิธีการทั้งสองวิธีไปใช้จัดการเรียนการสอนทุกระดับชั้น</p> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะรูปแบบซินเนคติกส์, รูปแบบซิปปา</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>Arts is the course focused on encourage artistic creativity and imagination to appreciate the beauty, art aesthetic and the value of art, which affects the quality of human life. The artistic activity aims to develop students’ physical, mental, intellectual, emotional and social aspects, encourage self-confidence, creative expression, and work together happily. The purpose of this research were: 1) to compare the achievement and Art Creativity of students between before and after learning by Synectics Learning and Cl PPA Model, 2) to study the relationship between achievement and Art Creativity, 3) to compare the achievement and Art Creativity of students between learned by Synectics Learning and CIPPA Model. The samples were 80 prathomsuksa 1 students in two classrooms, studying in the second semester of the 2010 academic year at Ban Mak Khaeng school under Udon Thani Provincial Primary Education Office, Area 1, Amphur Muang, Udon Thani province, derived by Cluster Random Sampling technique. Then the names of the sample were drawn to be 2 experimental groups, each of 40 students; the experimental group 1 learned by Synectics Learning and the experimental group 2 learned by CIPPA Model. The 3 instruments used in the study were 1)10 Synectics Learning lesson plan with an average ranging from 4.36 to 4.66 was at the high of appropriate level of quality, 2) 10 CIPPA Model lesson plan with an average ranging from 4.32 to 4.54 was at the high of appropriate level of quality 3) a-20 item with 3 choices achievement test with discriminating powers ranging .39 to .97, and a reliability of .884, 4) Art Creativity test with 3 activities. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation; and t-test (dependent Sample) and Hotelling’s T2 were employed for testing hypotheses.</p> <p><strong>The results of the research were as follows:</strong></p> <p>1. The students who learned by using Synectics Learning and CIPPA Model had Higher achievement and art creativity after learning than before learning at the .05 level of significance.</p> <p>2. Achievement and Art creativity had the relationships were statistically significant at the 0.05 level.</p> <p>3. The students who learned by using Synectics Learning and CIPPA Model had average achievement score differences were statistically significant at the 0.05 level.</p> <p>In conclusion; To organize learning activities by using Synectics Learning and CIPPA Model, have a clear procedures and able to develop in creative drawing, creation of the imagination, and encourage students in learning the arts (visual arts) more effectively. We should encourage Art teachers use two method in learning- teaching arts subject at other grade levels.</p> <p><strong>Keywords </strong>: A Comparison of Achievement, Creative thinking, Synectics Learning, CIPPA Model</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12146การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม2013-10-04T15:20:08+07:00ธงชาติ วงษ์สวรรค์sutum_t@hotmail.comพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์sutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ดำเนินการวิจัยในลักษณะของการวิจัยและพัฒนาโดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยดำเนินการที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส โรงเรียนบางกะปิ และโรงเรียนวัดอินทารามสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 1, 2 และ3 ตามลำดับในปีการศึกษา 2551-2552 กลุ่มผู้เกี่ยวข้องในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครอง ขั้นตอนการวิจัยมี 6 ขั้นตอนคือขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขั้นที่ 2 การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยน ขั้นที่ 3 การทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขั้นที่ 5 การทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนรอบที่ 2 และขั้นที่ 6 การประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนรอบที่ 2 และขั้นที่ 4 การประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในการดำเนินการวิจัยผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการในทุกขั้นตอน</p> <p><strong>ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้</strong></p> <p>1. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีชื่อว่า “ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม” (PSSS) ประกอบด้วยระบบย่อย 4 ระบบ ได้แก่ ระบบวางแผน (plan) ระบบปฏิบัติการ (act) ระบบตรวจสอบ (observe) และระบบสะท้อนผล (reflect) ทุกระบบมีขั้นตอนการดำเนินงาน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นวางแผน ขั้นปฏิบัติการ ขั้นตรวจสอบ และขั้นสะท้อนผล</p> <p>2. ผลการทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม พบว่า ด้านการใช้ประโยชน์ของระบบ ตอบสนองต่อการความต้องการของทุกฝ่าย ซึ่งทำให้เกิดการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริมพัฒนาป้องกันและแก่ใขปัญหานักเรียน ภายใต้การมีส่วนร่วมของบุคคลที่มีส่วนเที่ยวข้อง ด้านความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง เป็นที่ยอมรับ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของทุกฝ่าย ด้านความเหมาะสม พัฒนาระบบโดยให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในทุกขั้นตอน คำนึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นหลัก ดำเนินการด้วยความรับผิดชอบและ มีจรรยาบรรณ ด้านความถูกต้องน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับความสำคัญและจำเป็นของระบบ มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องไว้อย่างชัดเจน ด้านผลที่เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีความพึงพอใจที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นทั้งด้านนักเรียน ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครองและชุมชน ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักเรียนได้รู้จักตนเอง สามารถปรับตัวมีทักษะทางสังคม และอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ครูผู้สอนนำผลการดำเนินงานไปพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหาร โรงเรียนนำข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนไปใช้กำหนดแนวทางในการพัฒนานักเรียน หลักสูตร และคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนได้รับการยอมรับการสนับสนุน และการร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong>: การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน, การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม</p><p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purpose of this research was to develop the school counseling student system by action research participatory. The research method used was a research and development by applying a methodology of participatory action research, which was conducted at Wat Rachathivas School, Bangkapi School and Wat Intharam School, Educational Service Area office 1, 2 and 3 respectively during years 2008-2009. Groups involved in the research were administrators, teachers, students, and parents. Research phase has 4 steps, step 1 study actual situation, problem, and the need of the student support system, step 2 System development assistance to students, step 3 Trial student counseling system in Cycle 1, step 4 Evaluation and improvement of counseling students in Cycle 1, step 5 Trial student counseling system in Cycle 2, and step 6 Evaluation and improvement of counseling students in Cycle 2. To conduct research, stakeholders involved in the operation at all stages.</p> <p><strong>The results were as follows.</strong></p> <p>1. The student support system which was developed in secondary schools called ’’The Participative student Support System” The system composed of four subsystems; Plan, Act, Observe, and Reflect. Each subsystem also composed of four steps called Plan, Act, Observe, and Reflect.</p> <p>2. The results of system implementation showed that; the system utility meet the needs of all parties, which assist to promote development and prevent problem of students. Under the participation of individuals involved in the possibility of application is acceptable, appropriate for the operation of parties. The appropriate, developed by the stakeholders involved in every step, interests of students mainly, conducted responsibly and ethically. The accuracy and reliability consist in the importance and necessity of system. Indicators and tools consistent with the implementation process of the system. Vareity of tools to be fully and determining the roles of agencies and personnel that clearly. The result to all parties, all parties were satisfied with participating in the development of students, which cause changes in the way that students, teachers, parents and community. Of counseling students, students know themselves. Can adapt, have social skill and the society was very happy. Teachers use the results of operations to develop learning. School administrations use the students basic information to define guidelines for student development, programs and quality management education. School recognized the support and cooperation of parents, communities and related organization.</p> <p><strong>Keywords </strong>: student support system, action research participatory</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12148นวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย2013-10-04T15:20:08+07:00สุภาวดี อุตรมาตย์sutum_t@hotmail.comฉลาด จันทรสมบัติsutum_t@hotmail.comCopyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12111การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อการวิจัยในชั้นเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 12013-10-04T15:20:08+07:00อุดรรักษ์ คำลุนsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong></strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อการวิจัยในชั้นเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 2) ศึกษาคุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 และ 3) ศึกษาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อการวิจัยในชั้นเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 98 คน และครูผู้สอนจำนวน 308 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง 406 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนผลการวิจัยพบว่า1. การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อการวิจัยในชั้นเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยการมีส่วนร่วมในการวางแผน อยู่ในอันดับสูงสุด และด้านการมีส่วนร่วมในการคิดและตัดสินใจอยู่ในอันดับต่ำสุด 2. คุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยภาพรวมและรายมาตรฐานอยู่ในระดับมากโดยมาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ อยู่ในอันดับสูงสุดและมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์อยู่ในอันดับต่ำสุด3. การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อการวิจัยในชั้นเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 มี 4 ด้านคือ การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ การมีส่วนร่วมในการคิดและตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ และการมีส่วนร่วมในการวางแผน โดยร่วมกันส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ มีประสิทธิภาพในการทำนาย ร้อยละ 69.10</p> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม, การวิจัยในชั้นเรียน, คุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียน</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research were : 1) to study the participative administration for classroom action research in basic schools under the office of Prachuabkhirikhan educational service area 1, 2) to study the educational quality on student performance in basic schools under the office of Prachuabkhirikhan educational service area 1, and 3) to study the participative administration for classroom action research effecting the educational quality on student performance in basic schools under the office of Prachuabkhirikhan educational service area 1. The samples used in this research were 406 respondents consisting of 98 administrators and 308 teachers. The research instrument was the questionnaire with the rating scale of 5 levels. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis .The research results revealed that:1. The participative administration for classroom action research in basic schools under the office of Prachuabkhirikhan educational service area 1 was at high level as a whole and each aspect. The aspect of participation in planning was at the highest level, and the aspect of participation in thinking and decision making was at the lowest level.2. The educational quality on student performance in basic schools under the office of Prachuabkhirikhan educational service area 1 was at high level as a whole and each aspect. The 1st Standards : having the moral and ethical value of students was at the highest level, and the 4th Standard : having the ability on critical thinking, synthetic thinking creative thinking, and vision was at the lowest level.3. The participative administration for classroom action effecting the educational quality on student performance in basic schools under the office of Prachuabkhirikhan educational service area 1 were 4 aspects : the participation of beneficiaries, participation in thinking and decision making, participation in the operation, and participation in planning with statistical significance at the .05 leveland having predictive efficiency of 69.10 percent.</p> <p><strong>Keyword :</strong> The Participative Administration, Classroom Action Research, Educational Quality on Student Performance</p>Copyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนาhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/admin_develop_journal/article/view/12112ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำการที่ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอน2013-10-04T15:20:08+07:00สุทธิพงศ์ หกสุวรรณsutum_t@hotmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong></strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำการที่ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอน 2) เพื่อศึกษาแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอนของครูประจำการที่มีผลจากการได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอน และกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูประจำการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจำนวน15 เขต แต่ละสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน400 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.971 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏดังนี้</p> <p>1. ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนของครูประจำการที่ส่งผลต่อแรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอน 1) ช่องทางสื่อสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอน พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำราวารสารงานวิจัย 2) ช่องทางการได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนจาก พบว่า มากที่สุด คือ หนังสือ ตำรา วารสาร งานวิจัย 3) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนประเภทที่นำไปใช้ประโยชน์กับนักเรียน พบว่ามากที่สุด คือ หนังสือ ตำรา วารสาร งานวิจัย รองลงมา 4) ช่องทางการรับสารสนเทศใดที่ได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ชัดเจน พบว่า มากที่สุด คือ กิจกรรม ได้แก่ การอบรมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ 5) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนประเภทที่มีรูปแบบการเผยแพร่ที่น่าสนใจ พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู (Teacher TV) 6) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ได้รับแล้วทันตามเวลากำหนด พบว่า มากที่สุดคือ โทรทัศน์ครู (Teacher TV) 7) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่ได้รับแล้วใช้ถ้อยคำเข้าใจง่าย พบว่า มากที่สุด คือ บุคคล ได้แก่ การถาม-ตอบ ครู ศึกษานิเทศ 8)ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่สามารถชักจูงและเป็นแรงบันดาลใจที่พัฒนาตนเองด้านการสอน พบว่า มากที่สุด คือ โทรทัศน์ครู (Teacher TV) 9) ความต้องการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนจากช่องทางที่มีความสะดวกในการรับสารสนเทศ พบว่ามากที่สุด คือ หนังสือ ตำรา วารสาร งานวิจัย 10) ช่องทางการรับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนที่คิดว่าควรมีการเพิ่มเติมและปรับปรุง พบว่า มากที่สุด คือ อินเทอร์เน็ต</p> <p>2. แรงบันดาลใจในการพัฒนาศักยภาพการสอนของครูประจำการที่มีผลจากการได้รับสารสนเทศด้านนวัตกรรมการสอนในการพัฒนาศักยภาพของครู สามารถนำสารสนเทศด้านนวัตกรรมในการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและการพัฒนาสื่อ และ/หรือนวัตกรรมการเรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก</p> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> ช่องทางการรับนวัตกรรม, นวัตกรรมการสอน, แรงบันดาลใจ</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purpose of this study was to 1) Study for Channels of information on innovative teaching of teachers affecting the inspiration for the development of teaching 2) Study about teachers ’s affecting the inspiration for the development of teaching. office of north east educational Area for secondary school teachers . The samples consisted of 400 secondary school teachers north east educational area in 15 area, selected by means of cluster random sampling method were utilized as the sample group in this study.</p> <p>The research instrument consisted the questionnaires a reliability of 0.971and were used to collect data and frequency, percentages, arithmetic means and standard deviations were used to analyze those data.</p> <p>The results of the study were as follow :</p> <p>channels of information on innovative teaching of teacher affecting the Inspiration for the development of teaching 1) channels of information on Innovative instructional media that rated at the highest level are books, textbooks, journals, research. 2) channel of information received from the teaching innovation that rated at the highest level are books, textbooks, journals, research. 3) channels for information leading to the kind of innovative teaching and student use that rated at the highest level is books, textbooks, journals, research. 4) channels for information technology innovation, which has been explicit instruction that rated at the highest level is activities include workshops, seminars and exhibitions. 5) channels of information for innovation in the teaching of diffusion interest that rated at the highest level is Teacher television (Teacher TV) 6) channels of information for innovation in teaching has already been set up by this time that rated at the highest level is teacher television (Teacher TV) 7) channels of information for innovative teaching and use words that is easy to understand that rated at the highest level is activities include workshops, seminars and exhibitions. 8) channels of information that can lead to Journal of Administration and Development, Mahasarakham University Volume 4 Number 3 September – December 201236innovation in teaching and inspiration to develop their own teaching that rated at the highest level is teacher television (Teacher TV) 9) the need for innovative teaching of information channels that is easy to get information that rated at the highest level are books, textbooks, journals, research. 10) channels of information for innovation in teaching that you think should be added and updated that rated at the highest level is internet.</p> <p>2. Study about teacher’s affecting the inspiration for the development of teaching as a whole was at the high level : applied Information is the ability to develop innovative research , media development and / or innovative teaching and learning.</p> <strong>Key words :</strong> channels of information, innovative teaching, inspirationCopyright (c) 2017 Journal of Administration and Development, Mahasarakham University วารสารการบริหารและพัฒนา