ผลการแนะแนวตามทฤษฏีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม เพื่อลดความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง

Main Article Content

สุกานดา ภาระเวช
พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ์
ศิริศักดิ์ จันฤาไชย

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลางของนักเรียนโดยใช้ (1) วิธีสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และ(2) วิธีสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว 2) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลางของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังการทดลองใช้ วิธีสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และ วิธีสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว และ 3) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลางระหว่างนักเรียนที่ได้รับวิธีสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และกลุ่มที่ได้รับวิธีสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสุวรรณภูมิวิทยาลัย จำนวน 40 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) กำหนดเป็นกลุ่มทดลอง 1 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และกลุ่มทดลอง2 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรมกิจกรรมการแนะแนวตาม ทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม (2) แผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว และ (3) แบบวัดความวิตกกังวลในการสอบคดั เลอื กบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอดุ มศกึ ษาในระบบกลาง มกี ารวิเคราะห์ขอ้ มลู ใชค้ า่เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test (dependent samples) และ t-test (independent samples) ผลการวิจัย ปรากฏดังนี้

1. ก่อนการทดลองใช้ วิธีสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม นักเรียนมีความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง ก่อนทดลอง โดยรวมและรายข้อ 29 ข้อ อยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับปานกลาง1ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ข้อ 28 ข้าพเจ้ารู้สึกว่าตนเองไม่รู้จะสมัครเข้าศึกษาคณะอะไรหรือสถานการศึกษาแห่งไหนดี ภายหลังการทดลอง พบว่าความวิตกกังวลโดยรวมและรายข้อ 21 ข้อ อยู่ในระดับปานกลาง และอยู่ในระดับน้อย 9ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ข้อ 29 ข้าพเจ้ารู้สึกว่ายังไม่รู้เคล็ดลับในการสอบเข้าศึกษาต่อ ส่วนการทดลอง วิธีสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว นักเรียนมีความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลางก่อนและหลังทดลอง โดยรวมและรายข้อทุกข้อ อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ ข้อ 28 ข้าพเจ้ารู้สึกว่าตนเองไม่รู้จะสมัครเข้าศึกษาคณะอะไร หรือสถานการศึกษาแห่งไหนดี
2. การทดลองใช้ วิธีสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม กับนักเรียนกลุ่มที่ 1 พบว่ามีความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษาในระบบกลางระหว่างก่อนและหลงั การทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนการทดลองใช้ วิธีสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนวกับนักเรียนกลุ่มที่ 2 พบว่ามีความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระหว่างก่อนและหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน

3. นักเรียนที่ได้รับวิธีสอนตามโปรแกรมการแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม มีความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง ลดลงมากกว่ากลุ่มนักเรียนที่ได้รับวิธีสอนตามแผนการจัดกิจกรรมในคาบแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คำสำคัญ : ความวิตกกังวล, การสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

 

Abstract

The purposes of this study were : 1) to examine anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system of students using the (1) teaching method according to the guidance program based on national emotive theory, and those using teaching method according to the plans for organization of activities in the guidance periods. 2) to compare anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system of students between before experiment and after the experiment by using the (1) teaching method according to the guidance program based on the national emotive theory, and the (2) teaching method according to the plans for organization of activities in the guidance periods, and 3) to compare anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system of students between the students treated by teaching method according to the guidance program based on the national emotive theory and those treated by the (2) teaching method according to the plans for organization of activities in the guidance periods. The sample consisted of 40 students obtained from Suwanaphuma Wittayalai School through the purposive sampling technique. They were classified into experimental group 1 with 20 students treated by the teaching method according to guidance program based on the national emotive theory, and experiment group 2 with 20 students treated by the teaching method according to the plans for organization of activities in the guidance periods. The instruments used in the study were a guidance activities program based on the national emotive theory, and the plans for organization of activities is the guidance periods as well as a scale on anxiety about higher educational institution entrance examinations in the central system. The collected data were analyzed by mean, standard deviation, t-test (dependent samples),and t-test (independent samples).

The results of the study were as follows:

1. The experiment through the teaching method according to the guidance program base on the national emotive theory , the students had anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system before experiment as a whole and in each of the 29 items at a high level and1 item at a medium level. The item with the highest mean was Item 28 : I feel myself that I don’t know which faculty or which educational institution I would rather apply for study. After the treatment, their anxieties as a whole and in each of the 21 items were at a medium level, and 9 items at a low level. The item with the highest mean was Item 29 : I feel that I haven’t known any trick for entrance examinations, and the students treated by teaching method according to the plans for organization of activities in the guidance periods they had anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system before and after experiment as a whole and in each of all the items at a high level. The item at the highest mean was Item 28: I feel myself that I don’t know which faculty or which educational institution I would rather apply for study.

2. The experiment through the teaching method according to the guidance program based on the national emotive theory, the students had anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system between before and after the experiment different at the .05 level of statistical significance, and the experiment to using the (2) teaching method according to the plans for organization of activities in the guidance periods, the students had anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system between before and after experiment don’t to difference.

3. The students through the teaching method according to the guidance program based on national emotive theory have anxieties about higher educational institution entrance examinations in the central system lower than those through the (2) teaching method according to the guidance periods at the .05 level of statistical significance.

Keywords : anxiety, entrance examinations at higher educational institutions

Article Details

Section
บทความวิจัย