ปัจจัยทมี่อีิทธพิลต่อการพฒันารา้นคา้ปลีกด้งัเดมิในเขตกรงุเทพมหานคร

Main Article Content

ศุภรา เจริญภูมิ

Abstract

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สําารวจระดับการรับรู้ของผู้บริโภคท่ีมีต่อร้านค้า ปลกีดงั้เดิมในเขตกรงุเทพมหานครในดา้นทาําเลทีต่้งัดา้นคุณภาพบรกิารดา้นความเสีย่ง ด้านความเพลิดเพลินในการซ้ือ ด้านความคุ้มค่าเงิน ด้านความพึงพอใจในการซื้อ และ ดา้นความตัง้ใจซื้อในอนาคต2)สําารวจปัจจัยทมี่อีิทธิพลต่อการพัฒนารา้นคา้ปลีกด้งัเดมิ ในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณผสมกับเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผูใ้ชบ้รกิารของรา้นคา้ปลีกดัง้เดิมในเขตธนบรุีกรงุเทพมหานครจาํานวน400คนเครอื่ง มือที่ใชใ้นการเกบ็รวบรวมขอ้มูลไดแ้ก่แบบสอบถามและแบบสมัภาษณเ์ชิงลกึกล่มุเปา้ หมายเจ้าของร้านค้าปลีกด้ังเดิมในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครจําานวน 10 คน วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิตกิําาลังสองนอ้ยทสี่ดุบางสว่นPartialLeastSquares(PLS)

ผลการวิจัยพบว่าผ้บูรโิภครบัรู้ปจัจัยด้านความเสยี่งด้านความตง้ัใจซอื้ในอนาคต ด้านทําาเลท่ีต้ัง ในระดับมาก และปัจจัยด้านคุณภาพบริการ ด้านความเพลิดเพลินในการ ซ้อืด้านความค้มุคา่เงินด้านทาําเลที่ต้ังดา้นความเส่ยีงมอีทิธพิลต่อความพึงพอใจในการ ซือ้ตามลาําดบัและความพงึพอใจในการซื้อมอีิทธิพลสงูสดุตอ่ความตั้งใจซือ้ในอนาคตจาก การวิจัยยังพบว่าปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาร้านค้าปลีกด้ังเดิมสูงสุด ได้แก่ ปัจจัยด้าน คุณภาพการให้บริการลูกค้าด้วยความคุ้นเคยและเป็นกันเอง รองลงมาได้แก่ ปัจจัยด้าน ความเพลิดเพลินในการซ้ือที่ผู้บริโภคได้รับจากการมาพบปะสังสรรค์และทําากิจกรรมร่วม กนั ทร่ี า้ นคา้ ปลกี ดงั้ เดมิ ซง่ึ มขี อ้ ดีในเรอื่ งทาํา เลทตี่ ง้ั ทอี่ ยใู่ กลบ้ า้ น สง่ ผลใหม้ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความ พงึพอใจในการซอื้สงูกว่าปัจจัยดา้นอนื่ๆ

This research has the following objectives; 1) to survey the perceived level of consumers of traditional grocery stores in Bangkok, based on location, service quality , risk, shopping enjoyment, value for money, shopping satisfaction and future shopping intention; and 2) to survey the factors influencing the existing of development traditional grocery stores in Bangkok. Quantitative and qualitative methods are employed in this research. The quantitative sample comprises of 400 consumers in Thonburi District, Bangkok, to whom questionnaires were distributed. In-depth interviews were also conducted with ten owners of traditional grocery stores in the same area. In analyzing the quantitative data of this study, both descriptive statistics and the partial least squares (PLS) method are used.


Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์