การพัฒนาผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีนกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการควบคุม โดยรูปแบบของแผนการบริหารการเรียนรู้ ไปยังศูนย์กลาง นิสิต, นักศึกษา ในวิชาธรณีวิทยามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธาน
Main Article Content
Abstract
จุดมุ่งหมายของรายงานวิจยัส่งิแวดล้อมการเรียนร้ใูนช้ันเรยีนควบคุมโดยรูปแบบ ของแผนบริหารการจดัการเรยีนรู้สําาหรับศูนย์กลางนักศึกษาในวิชาธรณีวิทยาเคร่อืงมอื การเรียนรู้ถกู ใช้กับกลมุ่ ตัวอยา่ งซึ่งเป็นนักศึกษา 45 คน ที่เรียนหลักสตู รธรณวี ิทยา และ วทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2551 เครอ่ื งมอื การวจิยัเป็น(1)แผนการบริหารการเรียนรู้13บท(2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์และ (3) ผลงานการเรียนรู้ทําาการประเมินปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์-นักศึกษา กับแรงจูงใจ
ใฝ่สัมฤทธขิ์องผลสมัฤทธ์ทิางการเรยีนของนกัศึกษาโดยใชแ้บบสอบถาม45ขอ้เกี่ยวกับ ปฏสิัมพันธข์องอาจารย์ศึกษาการรับรูส้่งิแวดลอ้มการเรียนรู้โดยใช้มาตรวัดส่ิงแวดล้อม ในหอ้งปฏบิัติการธรณีวิทยาGLEIจาํานวน35ข้อท่ปีรบัปรุงมาจากมาตราวัดส่งิแวดล้อม ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ฉบับด้ังเดิม (SLIE) แบบสอบถามส่วนใหญ่มีรูปแบบ แท้จริงและรูปแบบที่ชอบทําาการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากับการ ประเมินระดับช้ันเรียน ทําาการวิเคราะห์ความมีนัยสําาคัญทางสถิติกับการวิเคราะห์ข้ันสูง
The aims of classroom learning environment research were developed students’ learning achievement, controlled by the forms of learning administration plans for students’ center in Geology course. The learning instruments administered to a sample of 45 students in geology and science programs, Udon Thani Rajabhat University in the second semester in academy year 2008. The instrument researches were also determined with the 13 chapters of the forms of the Learning Administration Plans, the Achievement Tests, and the Learning Work Sheets. Teacher-student interactions with their achievement motive of students’ learning achievement were assessed with the 48-item Questionnaire on Teacher Interaction (QTI) (Wubbels & Levy, 1993). The learning environment perceptions were obtained using the 35-item Geology Laboratory Environment Inventory (GLEI) modified from the original Science Laboratory Environment Inventory (SLEI) (Fraser, McRobbie, & Giddings, 1993). Most of these questionnaires have an Actual Form and a Preferred Forms. Students’ learning achievements were assessed with a Grade Level Assessment. Statistically significances were analyzed with the advance analysis and the results of this study are following as