ความต้องการการนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของ ครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32

Main Article Content

โสภณ ชุมพลศักดิ์
สุนทร โคตรบรรเทา
ปรานีพัน จารุวัฒนพันธ์

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความต้องการการนิเทศภายในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 ใน 3 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ และ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบความต้องการทั้งสามด้านดังกล่าว โดยจำแนกตามตัวแปรต้น คือ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ และเพื่อรวบรวมปัญหา และข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มตัวอย่างเป็นครูที่ปฏิบัติในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะจำนวน 132 คน ซึ่งได้มา โดยตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน และการสุ่มอย่างง่ายเครื่อง มือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ตัวเลือกซึ่งผู้ วิจัยสร้างขึ้นและมีค่าความเชื่อมั่น .80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าความถี่ค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และวิธีการของ เชฟ เฟ ผลการวิจัยสำคัญสรุปได้ดังนี้

1. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา มีความต้องการการ นิเทศภายในโดยรวม รายด้านและรายข้ออยู่ในระดับมาก

2. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีวุฒิการศึกษา สาขาศิลปะและสาขาอื่นๆ มีความต้องการนิเทศภายในโดยรวม รายด้าน และรายข้อส่วน ใหญ่อยู่ในระดับมาก ยกเว้นในเรื่อง การแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การ นิเทศการใช้หลักสูตร การนำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาและแก้ไข การใชเ้ ทคโนโลยี จัดการเรียนรู้และหลักการวัดผลการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด และส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในเรื่องการนิเทศ การใช้หลักสูตร และการนำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาและ แก้ไข แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และในเรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลจุด เน้นความต้องการของท้องถิ่น การนิเทศ กำกับ ติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และหลัก การวัดผลการเรียนรู้ ที่ระดับ .05

3. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีประสบการณ์ ตำ่กว่า 5 ปี 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความต้องการนิเทศภายในโดยรวม รายด้านและ รายข้อส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ยกเว้นในเรื่องการแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดทำหลักสูตรสถาน ศึกษา บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ การวิเคราะห์หลักสูตรท้องถิ่น การวางแผน การจัด ทำหลักสูตร การอบรมการใช้หลักสูตร การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการใช้ เทคโนโลยจี ดั การเรยี นรู้ อยูใ่ นระดบั มากทีส่ ดุ และสว่ นใหญไ่ มแ่ ตกตา่ งกนั ยกเวน้ ในเรือ่ งการ แต่งตั้งใหเ้ ป็นผูจ้ ดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษา การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางหลกั สูตรทอ้ งถิน่ และหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนการจัดทำหลักสูตรและการมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลักสูตรและแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และในเรื่องการวิเคราะห์ ข้อมูลจุดเน้นความต้องการของท้องถิ่น การอบรมการใช้หลักสูตร การพัฒนาคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ หลักการจัดการเรียนรู้ และเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ ที่ระดับ .05

4. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา เห็นปัญหาสำคัญ ได้แก่ ครูขาดความรู้ความเข้าใจด้านการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ การสอนไม่เพียงพอและครูขาดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวัดประเมินผลที่หลาก หลาย และให้ข้อเสนอแนะสำคัญคือควรปรับปรุงหลักสูตรให้มีความเป็นท้องถิ่นความเป็น เอกลักษณ์ของไทย ควรจัดตั้งงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพิ่มมากขึ้น และควรจัด อบรมเทคนิคการวัดผลและประเมินผล

คำสำคัญ : การนิเทศภายใน, ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ, การพัฒนาหลักสูตร การจัดการ, เรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

 

Abstract

The purposes of this research were to study the needs for internal supervision in art subjects of teachers in secondary schools under Buriram Secondary Education Service Area Office 32 in 3 aspects, namely curriculum development, learning management, and learning measurement and evaluation aspects; to compare the needs in the 3 aspects as classified by educational level and experience; and to collect additional problems and suggestions related.

The sample used in this research were 132 teachers teaching art subjects, derived through Krejcie& Morgan’s Table and simple ramdom sampling. The instrument used for collecting the data was the 5-point - rating - scale questionnaire, constructed the researcher and with reliability of .80. The statistics used for analysing the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Scheffe’s Method.

The main research were findings were summarized as follows :-

1. The teachers teaching art subjects in secondary schools had needs for internal supervision as a whole, in individual aspects, and by item at the high level.

2. The teachers teaching art subjects in secondary schools with the educational level in art field and other fields had needs for internal supervision as a whole, in individual aspects, and by item mostly at the high level; except on appointing school curriculum developers, supervising on curriculum implementation, using evaluation results to improve, develop and adapt, using technology to organize learning, and learning evaluation principles, it was found at the highest level, and mostly with no difference; except on supervising on curriculum implementation and, using evaluation results to improve, develop and adapt, it was found with statistically significant difference at the .01 level, and onanalysing data emphasizing local needs, supervising and controlling organization of learning activities and learning evaluation principles at the .05 level.

3. The teachers teaching art subjects in secondary schools with experience below 5 years, 5-10 years, and more than 10 years had needs for internal supervision as a whole, in individual aspects, and by item mostly at the high level; except on appointing schools curriculum developer, student learning roles, analysing local curriculum, planning, preparing curriculum, training on curriculum implementation, developing desirable characteristics, and using technology to organize learning, it was found at the highest level and mostly with no difference; except on appointing school curriculum developers, analysing core curriculum, local curriculum, and school curriculum, planning curriculum preparation, and participating in curriculum development, it was found with statistically significant difference at the .01 level, and on analyzing data emphasizing local needs, training on curriculum implementation, developing desirable characteristics, learning organization principles, and instruments for learning evaluation at the .05 level,

4. The teachers teaching art subjects in secondary schools perceived main problems on teachers lacking knowledgeand understanding in local curriculum preparation, schools lacking instructional media materials and equipment, and teachers lacking knowledge and understanding in diverse evaluation processes; and gave important suggestions that curriculum be improved to become localized and of Thai identity, budget on materials and equipment be increased and training on measurement and evaluation techniques be conducted.

Keywords : Internal supervision, teachers of art subjects, curriculum development, learning management, learning measurement and evaluation

Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์