@article{อินทรกำแหง_เอกปัญญาสกุล_กิจธรธรรม_วัฒนานนท์สกุล_วานิชกร_พิมพ์ทอง_ประเสริฐสิน_ตันติวิวัทน์_ชวโนวานิช_สุทธิแป้น_2018, title={ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยของ อาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยส่งผ่านคุณลักษณะที่ดีของการเป็นนักวิจัยพี่เลี้ยง}, volume={10}, url={https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/110763}, abstractNote={<p>การวิจัยผสานวิธีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านปัจจัยทางชีวจิตสังคม เจตคติที่ดีต่อการทำงานวิจัย และคุณลักษณะที่ดีของการเป็นพี่เลี้ยง ที่มีต่อการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยมีผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพได้แก่ หัวหน้าหน่วยวิจัยในมหาวิทยาลัย  4 คน นักวิจัยพี่เลี้ยงที่เคยเป็นหัวหน้าทีมวิจัย 6 คน โดยใช้การสัมภาษณ์ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ส่วนกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามประเมินตนเองเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 58 ข้อเกี่ยวกับปัจจัยการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา หรือ IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และใช้สถิติทดสอบโมเดลอิทธิพลด้วยโปรแกรมลิสเรล  ผลการวิจัยพบว่า 1) สาเหตุเงื่อนไขในการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย ได้แก่ คุณลักษณะนักวิจัย การสนับสนุนของหน่วยงานต้นสังกัด การให้ทุน และการใช้เทคโนโลยี 2) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับที่ยอมรับได้ด้วยค่าสถิติ (<em>χ</em><sup>2</sup>/df= 1.046, GFI = .997, AGFI = .975, RMSEA = .014, CFI = 1.000 และ 3) ปัจจัยทางชีวจิตสังคม เจตคติที่ดีต่อการทำงานวิจัย และคุณลักษณะพี่เลี้ยงร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยได้ ร้อยละ 82.9 และ 24.8 ตามลำดับ</p> <p><strong>Causal Factors Influencing Research Proposal Development and Research Publication of Faculty Members in Srinakharinwirot  University by the Mediating Impact of Qualification of the Mentors</strong></p> <p>The objectives of this mixed methods research were 1) to study the condition of research proposal writing and research dissemination, and 2) to investigate the congruency of the causal relationship model among bio-psycho-social factors, attitude towards doing research, qualification of the mentor influencing the research proposal development and research publication.This study employed qualitative and quantitative methods. The sample for the quantitative study consisted of 4 the heads of research units and 6 mentors who used to be the heads of research teams. Data for the qualitative study were collected via the use of interviews and analyzed using the content analysis. The quantitative study consisted of 250 faculty members. The employed data collecting instruments were  self-administered questionnaires based on 5 points Likert scale with 58- items, with content reliability or IOC = 0.67-1.00. Research data were analyzed using the path analysis with the LISREL program. Research finding were as follows: 1) The condition of research proposal writing and research dissemination included the researcher’s characteristics, supporting agency, funding and technology, and 2) The model fitted with the empirical data (<em>χ</em><sup>2</sup>/df= 1.046, GFI = .997, AGFI =.975, RMSEA =.014, CFI =1.000).  Consequently, three causal variables could demonstrate the variance of the research proposal writing and research dissemination at   82.9 and 24.8 percent respectively.</p>}, number={1}, journal={Journal of Behavioral Science for Development}, author={อินทรกำแหง อังศินันท์ and เอกปัญญาสกุล ฉัตรชัย and กิจธรธรรม วิชุดา and วัฒนานนท์สกุล สิทธิพงศ์ and วานิชกร อรัญ and พิมพ์ทอง ศรัณย์ and ประเสริฐสิน อัจศรา and ตันติวิวัทน์ สุดารัตน์ and ชวโนวานิช เจนนิเฟอร์ and สุทธิแป้น พิชชาดา}, year={2018}, month={Jan.}, pages={42–62} }