@article{ตันติมาลา_2018, title={การสร้างองค์ความรู้ผ่านการวิจัยวัฒนธรรม ตามแนวคิดการวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูลเชิงชาติพันธุ์วรรณนา}, volume={10}, url={https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/110634}, abstractNote={<p>การวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูลเชิงชาติพันธุ์วรรณนาเป็นหนึ่งในวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพที่กำลังได้รับการยอมรับในวงวิชาการและวงการวิจัย และถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างองค์ความรู้ของศาสตร์ด้านต่างๆ ทั้งสาขาพยาบาลศาสตร์และจิตเวช สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขาเศรษฐศาสตร์และการตลาด เศรษฐศาสตร์ การวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูลเชิงชาติพันธุ์วรรณนาใช้การตีความและสร้างสรรค์ วิธีการวิจัยนี้ได้นำเอาวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ สองวิธีการมาผสมผสานกัน คือ การวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล และการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา ซึ่งเป็นวิธีการที่มีจุดเด่น และข้อจำกัดแตกต่างกัน เพื่อตีความเข้าใจสังคมที่ศึกษาและเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษา ตลอดจนเพื่อสร้างองค์ความรู้ผ่านการวิจัยวัฒนธรรม ให้มีศักยภาพในการนำเสนอความเข้าใจของผู้ให้ข้อมูลที่มาจากประสบการณ์จริงได้อย่างเข้มข้น และเข้มแข็ง</p> <p><strong>Constructing </strong><strong>the </strong><strong>Body of Knowledge </strong><strong>t</strong><strong>hrough Cultural Research </strong><strong>based on Grounded Theory in Ethnography Approach</strong></p> <p>The Grounded Theory in Ethnography is an approach in qualitative research, which are recognized in academic and research circles and widely used in various subjects: Nursing and Psychiatry Sociology and Anthropology Economics and Market. The methodology combined the two qualitative research method; including Grounded heory and Ethnography. They had  different strong point and limitation to interpret the social understanding and to explain the phenomenon, as well as, construct the body of knowledge which was done as a cultural research. These helped to understand the real experience from key informations with intensive way and rich data. </p>}, number={1}, journal={Journal of Behavioral Science for Development}, author={ตันติมาลา ชวิตรา}, year={2018}, month={Jan.}, pages={1–24} }