TY - JOUR AU - ปัญญาจีน, ประดิษฐ์ PY - 2020/12/24 Y2 - 2024/03/29 TI - ปัญญาสชาดกฉบับเชียงใหม่ เรื่องที่ 21 – 30 : การปริวรรต การแปล และการศึกษาเปรียบเทียบ JF - วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา JA - J. Buddh. Stud. VL - 11 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBS/article/view/246042 SP - AB - <p class="5175"><span lang="TH">งานวิจัยเรื่อง “ปัญญาสชาดกฉบับเชียงใหม่ เรื่องที่ </span><span lang="EN-US">21</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-US">30 :</span><span lang="TH"> การปริวรรต การแปล และการศึกษาเปรียบเทียบ” มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ </span><span lang="EN-US">1</span><span lang="TH">) เพื่อปริวรรตและแปลปัญญาสชาดกฉบับเชียงใหม่ หรือซิมเมปัณณาสชาดก เรื่องที่ </span><span lang="EN-US">21</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-US">30</span><span lang="TH"> ฉบับบาลีอักษรโรมันเป็นบาลีอักษรไทย </span><span lang="EN-US">2</span><span lang="TH">) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัญญาสชาดกฉบับเชียงใหม่ เรื่องที่ </span><span lang="EN-US">21</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-US">30</span><span lang="TH"> กับฉบับไทยของกรมศิลปากร ฉบับหอสมุดแห่งชาติ สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร และฉบับล้านนา ปริวรรตโดย พิชิต อัคนิจ ด้านตัวละคร สำนวนภาษา ลีลาการแต่ง งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยนำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนา</span></p><p class="5175"><span lang="TH">ปัญญาสชาดกฉบับเชียงใหม่ เรื่องที่ </span><span lang="EN-US">21</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-US">30</span><span lang="TH"> ผู้วิจัยได้ทำการปริวรรตจากบาลีอักษรโรมันเป็นบาลีอักษรไทย หลังจากได้ทำการปริวรรต ตรวจชำระ และแปลแล้ว จึงได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบกับฉบับหอสมุดแห่งชาติและฉบับล้านนา ด้านตัวละคร สำนวนภาษา และลีลาการแต่ง ด้านตัวละครมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ฉบับเชียงใหม่ใช้สำนวนภาษาที่เป็นบาลีล้วน ฉบับหอสมุดแห่งชาติใช้สำนวนภาษาบาลีเหมือนกับฉบับเชียงใหม่ แตกต่างกันที่ยกเฉพาะภาษาบาลีมาเพียงประโยคสั้น ๆ นอกนั้นใช้สำนวนภาษาไทยดำเนินเนื้อเรื่องไปจนจบ ฉบับล้านนานั้น ได้ใช้สำนวนภาษาบาลีและแปลเป็นภาษาถิ่นล้านนา ลีลาการแต่ง ฉบับเชียงใหม่เป็นการแต่งในรูปประโยคแบบง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน ฉบับหอสมุดแห่งชาติมีการแต่งรูปประโยคที่เป็นภาษาบาลีเหมือนกับฉบับเชียงใหม่ ต่างกันตรงที่เดินเรื่องด้วยภาษาบาลีเพียงประโยคต้นเรื่องเท่านั้น ส่วนฉบับล้านนาเป็นการแต่งการดำเนินเนื้อเรื่องเหมือนกับฉบับเชียงใหม่และฉบับหอสมุดแห่งชาติ แตกต่างกันเฉพาะการแปลเป็นภาษาไทย ซึ่งฉบับล้านนาแปลยกศัพท์ตลอดจนจบเรื่อง โดยใช้สำนวนภาษาถิ่นล้านนา นับว่าเป็นลีลาการแต่งที่ต่างจากชาดกฉบับเชียงใหม่และฉบับหอสมุดแห่งชาติอย่างชัดเจน</span></p> ER -