@article{มหาวิริโย (ก้อนจา)_นามณี_พรมดี_2020, title={ศึกษาเชิงวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในธรรมนิยายเรื่องลีลาวดี}, volume={11}, url={https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBS/article/view/245866}, abstractNote={<p class="p1"><span class="s1">บทความนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสารัตถะของธรรมนิยายเรื่องลีลาวดี 2) เพื่อศึกษาสารัตถะธรรมที่ปรากฏในธรรมนิยายเรื่องลีลาวดี และ 3) เพื่อศึกษาคุณค่าของหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในธรรมนิยายเรื่องลีลาวดี เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตด้านเนื้อหา ได้แก่ ระบบวรรณะ 4 กฎแห่งกรรม ความตาย การเวียนว่ายตายเกิด ความรัก และคุณค่าของพุทธธรรมที่ปรากฏในธรรมนิยายเรื่องลีลาวดี โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา</span></p> <p class="p1"><span class="s1"><strong>ผลวิจัยพบว่า 1)</strong> ธรรมนิยายเรื่องลีลาวดี กล่าวถึงเรื่องราวอิงประวัติศาสตร์ในสมัยพุทธกาล อันมีการดำเนินเรื่องราวผ่านตัวละครเอกคือ พระเรวัตตะและลีลาวดี ผูกเรื่องราวจากความรักและอุปสรรคจากความแตกต่างของชนชั้นวรรณะ เป็นนวนิยายที่สอดแทรกคำสอน สะท้อนถึงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและนิพพาน<span class="Apple-converted-space">  </span>ผ่านตัวละคร ด้วยการบรรยายเชิงพรรณา เทศนาและอุปมาโวหาร 2) หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในธรรมนิยายเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนของมนุษย์ต่อสังคม เช่น ความรักความเมตตา ความกตัญญูความเสียสละ กัลยาณมิตร และหลักพุทธธรรม หมวดอื่นๆ<span class="Apple-converted-space">  </span>เช่น ขันธ์ 5 สติปัฏฐาน 4 </span><span class="s2">ไตรลักษณ์และปฏิจจสมุปบาท </span><span class="s1"> 3) คุณค่าของหลักพุทธธรรมที่ปรากฏ เป็นการให้ความรู้ทั้งต่อผู้อ่านเองและการปฏิบัติต่อผู้อื่น สะท้อนถึงความเชื่อเกี่ยวกับการเวียนว่ายตายเกิดและหลักกรรม ที่ให้ผู้อ่านได้รับความเพลิดเพลินในรสวรรณกรรมและหลักการดำเนินชีวิต</span></p>}, number={2}, journal={วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา}, author={มหาวิริโย (ก้อนจา) พระณัฐวุฒิ and นามณี โผน and พรมดี ทรงศักดิ์}, year={2020}, month={ธ.ค.} }